Previous Page  11 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 11 / 62 Next Page
Page Background

11

ปีที่ 42 ฉบับที่ 188 พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

คนที่เห็นว่ารางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ปี ค.ศ. 2013 เป็นเรื่องไกลตัว ไม่น่าสนใจ และยากเกินกว่าจะเข้าใจ คงไม่แปลกอะไร

เพราะผู้ที่จะท�

ำความเข้าใจกระบวนการบีอีเอชได้ ต้องมีความรู้พื้นฐานทางฟิสิกส์ที่ต้องต่อยอดกันมาหลายชั้น โดย สามารถแสดง

เป็นแผนภาพเปรียบเทียบกับการปีนเขา ได้ดังนี้

กระบวนการบีอีเอช

(BEH Mechanism)

ทฤษฎีสนามควอนตัม

(Quantum Field Theory)

กลศาสตร์ควอนตัม

(Quantum Mechanics)

ทฤษฎีสนาม

(Field Theory)

ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ

(Special Relativity Theory)

กลศาสตร์

(Mechanics)

ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า

(Electromagnetism)

ภาพที่ 2 แผนภาพแสดงหัวข้อในสาขาฟิสิกส์

ที่ต้องเรียนรู้เพื่อท�

ำความเข้าใจกระบวนการบีอีเอช

ซึ่งเปรียบเสมือนการปีนเขาเพื่อพิชิตยอดเขาของ

เขาลูกหนึ่ง

จะเห็นได้ว่า ผู้ที่จะเรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการบีอีเอชต้องมี

ความเข้าใจทั้งทางด้าน กลศาสตร์ ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า ทฤษฎี

สัมพัทธภาพพิเศษ กลศาสตร์ควอนตัม และ ทฤษฎีสนาม ซึ่ง

เป็นการเรียนรู้ที่มีลักษณะของการต่อยอดความรู้คล้ายกับ

การพยายามปีนเขาไปที่สูงขึ้นไปเรื่อย ๆ ก่อนจะสามารถไปชื่นชม

บรรยากาศและทัศนียภาพที่สวยงามจากยอดเขาที่เปรียบเสมือน

กับการได้สัมผัสกับความงดงามจากการได้เข้าใจกระบวนการบีอีเอช

นอกจากความรู้ความเข้าใจเชิงทฤษฎีทางฟิสิกส์แล้ว

การที่จะสามารถพิสูจน์ถึงความถูกต้องของกระบวนการ

บีอีเอชเชิงการทดลองได้นั้น นักฟิสิกส์ ต้ องอาศัยความรู้

ความเข้ าใจทางด้ านเครื่องมือที่ใช้ ในการทดลองที่ล้ วน

อยู่บนพื้นฐานของเทคโนโลยีและวิทยาการที่ล�้

ำสมัยในหลาย ๆ

ด้าน ไม่ว่าจะเป็น เทคโนโลยีด้านเครื่องเร่งอนุภาค เทคโนโลยี

ด้ านเครื่องตรวจจับอนุภาค เทคโนโลยีด้ านวิทยาการ

คอมพิวเตอร์ รวมไปถึง ความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลที่

ซับซ้อนปริมาณมหาศาล และ ความสามารถในการประสานงาน

และท�

ำงานร่วมกัน

ในด้านการทดลองเพื่อพิสูจน์กระบวนการบีอีเอช นักฟิสิกส์

ต้องออกแบบและพัฒนาเครื่องเร่งอนุภาคที่สามารถสร้างสภาวะที่

“อนุภาคฮิกส์” (ซึ่งเป็นหลักฐานของการเกิดกระบวนการบีอีเอช)

จะสามารถปรากฏตัวให้เห็น ซึ่งเป็นสภาวะพลังงานสูงในระดับ

ที่ใกล้เคียงกับสภาวะหลังจากการก่อก�

ำเนิดเอกภพ (Big Bang)

ได้เพียงเศษเสี้ยววินาที เครื่องเร่งอนุภาคที่จะสามารถท�

ำให้เกิด

สภาวะดังกล่าวได้นั้น ต้องมีสมรรถนะสูงอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน

และต้องเป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่ก้าวข้ามขีดจ�

ำกัดทางเทคโนโลยี

ใ นอดีต และ เ มื่ออนุภาคฮิกส์ ปร ากฏตัว ใ ห้ เ ห็นแล้ ว

การที่นักฟิสิกส์จะสามารถตรวจจับและบันทึกร่องรอยของ

อนุภาคฮิกส์ไว้ได้ พวกเขาต้องอาศัยเครื่องมือส�

ำคัญที่เรียกว่า

เ ค รื่ อ ง ต ร ว จ จั บ อ นุ ภ า ค ส�

ำ ห รั บ ก า ร เ ก็ บ ห ลั ก ฐ า น

ของการปรากฏตัวของอนุภาคฮิกส์เอาไว้ โดยเครื่องตรวจจับ

อนุภาคต้องมีเซ็นเซอร์หลายล้านเซ็นเซอร์ ส�

ำหรับท�

ำการวัดค่า

ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการชนกันแล้วสลายไปของอนุภาคต่าง ๆ

นับร้ อยล้ านครั้ง ก่ อนจะน�

ำไปวิเคราะห์ ด้ วยระบบการ

ประมวลผลทางคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง ส�

ำหรับการยืนยัน

ถึงความมีอยู่จริงของอนุภาคฮิกส์ให้ชาวโลกได้รับรู้