

6
นิตยสาร สสวท.
ตัวอย่างการโต้วาที
(ที่มา :
http://openhouse.it.kmitl.ac.th/2013/competition/it-debate/)การเปิ ดโอกาสให้ ผู้ เรียนได้ ร่ วมแสดงความคิดเห็นต่ อ
เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์การเรียนรู้และการร่วมพัฒนา
กิจกรรมการเรียนรู้ เช่น การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เลือกหัวเรื่อง
ในการอภิปรายหรือการประยุกต์ความรู้สู่การแก้ปัญหาในเรื่อง
ที่พวกเขาสนใจ การมีส่วนร่วมในลักษณะนี้จะช่วยเพิ่มระดับ
ความสนใจ ความกระตือรือร้นของผู้เรียน ซึ่งการที่กระตุ้นให้
นักเรียนสนใจ กระตือรือร้น และร่วมสร้างบรรยากาศของ
การเรียนรู้นั้นเท่ากับเป็นการเพิ่มขีดความสามารถด้านความรับผิดชอบ
ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน รวมทั้งผู้เรียนจะมีทางเลือกมากขึ้นใน
การบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ของพวกเขา
ในห้องเรียนของผู้สอนวิทยาศาสตร์ การเรียนรู้ ผ่ าน
การลงมือปฏิบัติถือว่าเป็นหัวใจส�
ำคัญ ดังนั้นผู้สอนสามารถ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการเรียนรู้แบบ Active Learning
ได้ไม่ยากซึ่งผู้สอนหลายท่านก็อาจจัดกิจกรรมโดยใช้เทคนิคนี้อยู่แล้ว
จากภาพรวมของการจัดการเรียนรู้ข้างต้นนี้คงเป็นอีกแนวทาง
หนึ่งที่ผู้สอนสามารถน�
ำไปปรับใช้เพื่อเพิ่มสมรรถนะของนักเรียน
ที่สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
บรรณานุกรม
Girondi, A. J. (1967). Active learning in chemistry education.
Retrieved March 4, 2014, from http://www. Geocities.
com/Athens/oracle/2041
Partnership for 21 st Century Skills. (2013). Curriculum and
Instruction: A 21st Century Skills Implementation
Guide. Retrieved March 4, 2014, from
http://www.p21.
org/storage/documents/p21-stateimp_curriculumin
struction.pdf 19 Dec 2013.
Study Guides and Strategies. Active learning. Retrieved
March 3, 2014, from
http://www.studygs.net/activelearn.htm.
Talbert, Robert. (April 17, 2010). Active learning is essential,
not optional, for STEM students. Retrieved December
19, 2013, from
http://chronicle.com/blognetwork/castingoutnines/2010/04/17/active-learning-is-essen
tial-not-optional-for-stem-students/
University of Minnesota. (2013). Active learning
.
Retrieved
December 19, 2013, from
http://www1.umn.edu/ohr/teachlearn/tutorials/active/what/
3. เพิ่มแรงจูงใจและความส�
ำเร็จในการเรียนรู้ของผู้เรียน