

ด้วยการใช้ภาษาของตนเอง
4
นิตยสาร สสวท.
1. การจัดการเรียนรู้ควรออกแบบกระบวนการเรียนรู้โดย
ให้มีกิจกรรมเชิงปฏิบัติการ ไม่เน้นการสอนแบบบรรยายที่ใช้
เวลานาน ๆ หากเป็นการบรรยายควรมีกิจกรรมขั้นเป็นช่วง ๆ
ซึ่งกิจกรรมนั้นอาจมีความหลากหลาย เช่น การบันทึกอย่างมีโครงสร้าง
การทำ
�แผนภาพ ผังมโนทัศน์ การวาดรูป การยกตัวอย่าง
การนำ
�เสนองาน การร่วมแสดงความคิดเห็นการสรุปความรู้
2. ผู้สอนควรออกแบบหรือเลือกกิจกรรมที่มีความ
หลากหลายมีความเหมาะสม และที่สำ
�คัญ กิจกรรมนั้นต้องให้
นักเรียนได้มีส่วนร่วมใน 2 ลักษณะ คือ การมีส่วนร่วมใน
การทำ
�งานหรือลงมือปฏิบัติและการมีส่วนร่วมในการคิด
( B o nwe l l e & E i s o n 1 9 9 1 ) ซึ่ ง เ ป้ า หม า ย ข อ ง
การทำ
�กิจกรรมเพื่อให้นักเรียนบรรลุวัตถุประสงค์ ดังนี้
1) ให้เกิดการคิดขั้นสูงหรือการคิดสร้างสรรค์
2) ให้มีการสื่อสาร แลกเปลี่ยนความคิดกันระหว่างผู้เรียน
ในลักษณะต่าง ๆ อาจจะจับเป็นคู่ จัดเป็นกลุ่มเล็ก หรือ
กับเพื่อนทั้งชั้นเรียน
3) มีการแสดงออกหรือถ่ายทอดความคิดผ่านการเขียน
4) มีการส�
ำรวจเจตคติและคุณค่าเฉพาะบุคคล
5) มีบรรยากาศของการให้และรับรู้ข้อมูลย้อนกลับ
6) เปิดโอกาสให้มีการสะท้อนความคิดต่อกระบวนการ
จัดการเรียนรู้
หลักส�
ำคัญของการจัดการเรียนรู้
1. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส�
ำคัญ
2. มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
สูงสุดโดยเฉพาะอย่างยิ่งทักษะการคิดขั้นสูง
3. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนมีการลงมือปฏิบัติ
ท�
ำงาน คิดและแก้ปัญหาร่วมกัน
4. ผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้อ�
ำนวยความสะดวกในการจัด
การเรียนรู้ เพื่อให้ผู้ เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเอง
ออกแบบกิจกรรมและการจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียน
ได้ฝึกทักษะ การฟัง อ่าน เขียน แสดงความคิดเห็น
และการคิดขั้นสูง
5. ผู้เรียนมีอิสระและมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้อย่างมาก
และผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง
3. ผู้สอนควรให้ผู้เรียนมีอิสระในการด�
ำเนินกิจกรรมการ
เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยไม่จ�
ำเป็นต้องด�
ำเนินกิจกรรมแต่ละ
ขั้นตอนในเวลาที่พร้อมกัน เช่น ขณะที่ผู้เรียนกลุ่มหนึ่งก�
ำลัง
ด�
ำเนินกิจกรรมตามใบงาน อีกกลุ่มหนึ่งอาจศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
จากหนังสือ เอกสาร แต่อีกกลุ่มหนึ่งอาจก�
ำลังแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็นกับเพื่อนหรือครู ซึ่งผู้เรียนในแต่ละกลุ่มอาจด�
ำเนิน
กิจกรรมการเรียนรู้ได้เร็วหรือช้าแตกต่างกัน ดังนั้นผู้สอนต้องมี
การออกแบบกิจกรรมหรือวิธีด�
ำเนินการเรียนรู้ที่นอกเหนือจาก
บทเรียนปกติ
4. ผู้สอนควรแบ่งสัดส่วนเวลาส่วนใหญ่ในการจัดการเรียนรู้
เพื่อช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาความรู้ความเข้าใจและทักษะ มีการ
ส่งเสริมการเรียนรู้เชิงลึก โดยใช้เวลาในการถ่ายทอดข้อมูล
ในส่วนที่ส่งเสริมการเรียนรู้แบบผิวเผินในสัดส่วนที่น้อยกว่า
นอกจากนี้ผู้สอนจะต้องเปิดโอกาสให้นักเรียนสามารถประยุกต์
ความรู้ไปใช้ประโยชน์ และแสดงออกถึงประสบการณ์ที่พวกเขา
ได้เรียนรู้ รวมทั้งมีโอกาสได้รับข้อมูลย้อนกลับทันทีจากเพื่อน
หรือครูผู้สอน
5. รูปแบบของการท�
ำกิจกรรมการเรียนรู้ที่นิยมน�
ำมาใช้
ในห้องเรียนแบบ Active Learning
1) กิจกรรมเป็นรายบุคคล (individual activities)
2) กิจกรรมแบบจับคู่ (paired activities)
3) กิจกรรมกลุ่มย่อย (small group activities)
4) กิจกรรมแบบโครงงาน (project activities)
แนวทางการจัดการ เ รียนรู้