

3
ปีที่ 42 ฉบับที่ 188 พฤษภาคม - มิถุนายน 2557
ดร.สุพรรณี ชาญประเสริฐ
ผู้อ�
ำนวยการสาขาเคมี สสวท. / e-mail :
Supunnee@ipst.ac.thครูหลายท่ านคงทราบดีแล้วว่ าการจัดการเรียนรู้
ในศตวรรษ ที่ 21 นอกจากครูจะจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียน
ได้รับองค์ความรู้แล้ว ครูควรจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมให้
ผู้เรียนมีสมรรถนะดังนี้
1. มีความรอบรู้ด้านเนื้อหา
2. มีทักษะการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ทักษะการ
สื่อสาร ทักษะการคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม ทักษะการท�
ำงาน
แบบร่วมมือ ทักษะการเรียนรู้บริบทและสิ่งแวดล้อม ทักษะ
การรอบรู้ด้านสื่อและข้อมูลข่าวสาร
3. มีคว ามรอบรู้ ด้ าน เ ทค โ น โ ลยีและกา รสื่อสา ร
4. มีทักษะชีวิต เช่น การเป็นผู้น�
ำ การก�
ำกับและชี้น�
ำ
ดังนั้นครูต้องมีการปรับเปลี่ยนแนวทางการจัดการเรียนรู้
บริบทและบรรยากาศของชั้นเรียน และที่ส�
ำคัญคือการออกแบบ
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนมีบทบาทส�
ำคัญต่อการด�
ำเนิน
กิจกรรมการเรียนรู้ของตนเอง
หลายท่านอาจสงสัยแล้วว่า Active Learning จะมีแนวทาง
การจัดการเรียนรู้ได้อย่างไร มีความส�
ำคัญและจ�
ำเป็นหรือไม่ต่อ
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 Active Learning คือ
การเรียนรู้ที่ให้ความส�
ำคัญกับประสบการณ์ ความสนใจ
ความกระตือรือร้นและการมีส่วนร่วมของผู้เรียนมุ่งเน้นความรับผิดชอบ
ต่อการเรียนรู้ของตนเองในตัวผู้เรียนมากขึ้น
โดยผู้ เรียนมีบทบาทส�
ำคัญต่ อการด�
ำ เนินกิจกรรม
การเรียนรู้ของตนเอง ซึ่งการเรียนรู้นั้นจะไม่ใช่การฟังเพียงอย่าง
เดียว จะต้องเกิดการเรียนรู้ผ่านการอ่าน การเขียน การอภิปราย
การแก้ปัญหาหรือการประยุกต์ใช้สู่สถานการณ์จริงร่วมกันด้วย
กิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้สูงสุดทั้ง
ด้ านคว ามรู้ ทักษะและ เจตคติ โ ดย เ ฉพา ะอย่ า ง ยิ่ ง
ผู้เรียนจะต้องมีส่วนร่วมในงานที่ก่อให้เกิดทักษะการคิดขั้นสูง
(Bonwelle & Eison 1991)
Active Learning:
การจัดการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21
ตนเอง การรับผิดชอบต่อสังคม