

12
นิตยสาร สสวท.
ด้วยขั้นตอนที่ซับซ้อน และเทคโนโลยีที่ล�้
ำสมัยในหลาย ๆ ด้าน
ก า รท�
ำ ง าน เ พื่อพิสูจน์ ก า รมีอยู่ จ ริ ง ขอ ง อนุภาคฮิกส์
จึงไม่อาจท�
ำได้ โดยนักวิทยาศาสตร์ เพียงไม่กี่คน ดังเช่น
การค้นพบดีเอ็นเอ หรือ การค้นพบรังสีเอ็กซ์ ที่สามารถท�
ำได้โดย
นักวิทยาศาสตร์เพียง 1 หรือ 2 คน แต่การท�
ำการทดลอง
เพื่อค้นหาอนุภาคฮิกส์ต้องอาศัยความร่วมมือของนักฟิสิกส์
วิศวกร และผู้เชี่ยวชาญจากหลากหลายสาขา ที่อยู่ตามสถาบัน
ต่าง ๆ ทั่วโลก จ�
ำนวนกว่าหลายพันคน ประสานงาน แลกเปลี่ยน
เรียนรู้ ค้นคว้าวิจัย และ พัฒนา ร่วมกัน ด้วยเหตุนี้ ความสามารถ
ในการท�
ำงานร่วมกันเป็นทีม จึงเป็นสิ่งที่จ�
ำเป็นอย่างยิ่งใน
การค้นคว้า วิจัย เพื่อค้นหาอนุภาคฮิกส์
จนกระทั่งในปี ค.ศ. 2012 นักฟิสิกส์ได้ประสบความส�
ำเร็จ
ในการค้นพบอนุภาคฮิกส์ โดยอาศัยเครื่องตรวจจับอนุภาค
ที่มีชื่อเรียกว่า
ซีเอ็มเอส (CMS:CompactMuonSolenoid)
และ
แอทลาส (ATLAS: A Toroidal LHC Apparatus)
ซึ่งเป็นเครื่องตรวจจับอนุภาคในโครงการวิจัยขององค์กรวิจัยนิวเคลียร์แห่ง
ชาติยุโรปหรือ
เซิร์น ( CERN: The European Organization
for Nuclear Research)
ซึ่งเป็นองค์กรที่ได้ท�
ำการทดลองเร่ง
อนุภาคโปรตอนมาชนกันที่พลังงานสูงอย่างที่ไม่เคยมีใครท�
ำได้มาก่อน
ด้วยเครื่องเร่งอนุภาคขนาดเส้นรอบวงกว่า 27 กิโลเมตร
ที่ชื่อว่า
แอลเอชซี (LHC: Large Hadron Collider)
โดยใน
จ�
ำนวนการชนกันของอนุภาคโปรตอนกว่า 600 ล้านครั้ง นักฟิสิกส์ได้ใช้
อัลกอริทึมที่ซับซ้อนในการเลือกเหตุการณ์ที่คาดว่าจะเกิด
อนุภาคฮิกส์ซึ่งมีเพียงไม่กี่เหตุการณ์ ส�
ำหรับการบันทึกและ
วัดค่าสมบัติทางกายภาพต่าง ๆ ก่อนจะน�
ำผลที่ได้มาท�
ำการ
วิเคราะห์ด้วยระบบประมวลผลทางคอมพิวเตอร์ ยุคใหม่
ที่เรียกว่า
Grid Computing
จนในที่สุด สามารถยืนยัน
ความมีอยู่จริงของกระบวนการบีอีเอชให้กับชาวโลกได้
ภาพที่ 3 นักวิทยาศาสตร์ในโครงการ CMS ขององค์กร
CERN โครงการ CMS เป็นหนึ่งในโครงการที่ได้ท�
ำการทดลองเพื่อค้นหา
อนุภาคฮิกส์ โดยมีนักวิทยาศาสตร์ร่วมโครงการกว่า 3,000 คน จากกว่า
40 ประเทศทั่วโลก (ที่มา:
http://cds.cern.ch/collection/CMS%20Photos?ln=en)
ภาพที่ 4 บุคลากรในโครงการ ATLAS หนึ่งในโครงการของ CERN
ที่ประสบความส�
ำเร็จในการค้นพบอนุภาคฮิกส์
(ที่มา:
http://www.atlas.ch/photos/collaboration-general.html)