

15
ปีที่ 42 ฉบับที่ 188 พฤษภาคม - มิถุนายน 2557
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานในชั้นเรียนสามารถเริ่มต้น
ได้จากการที่ครูกำ
�หนดขอบเขตหรือหัวข้อของการทำ
�โครงงาน
อย่างกว้าง ๆ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดตามหลักสูตร
ของกลุ่มสาระวิชา จากนั้นจัดสถานการณ์ที่กระตุ้นให้ผู้เรียน
เกิดความสงสัยหรือสนใจ อันจะนำ
�ไปสู่การกำ
�หนดปัญหา
ของโครงงานที่ผู้เรียนจะไปหาคำ
�ตอบต่อไป สถานการณ์ที่นำ
�
ไปสู่การทำ
�โครงงานนี้อาจจะได้มาจาก ข่าว บทความ เหตุการณ์
หรือสถานการณ์ปัญหาที่พบจริงในชีวิตประจำ
�วัน หรือปัญหา
ของคนในสังคมที่ต้องการความช่วยเหลือหรือการแก้ไข
เมื่อผู้เรียนได้ปัญหาหรือคำ
�ถามที่นำ
�ไปสู่การทำ
�โครงงาน
อย่างชัดเจนแล้ว ผู้สอนมีบทบาทในการกระตุ้นให้ผู้เรียนออกแบบ
และวางแผนวิธีการในการหาคำ
�ตอบและกำ
�หนดขั้นตอนใน
การทำ
�งานของตนเอง จากนั้นให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติตามขั้นตอน
และวิธีการที่กำ
�หนดขึ้น โดยผู้สอนเป็นผู้คอยสนับสนุนด้านสื่อ
วัสดุอุปกรณ์แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ตลอดจนวิทยากรหรือผู้เชี่ยวชาญที่
จะมาช่วย เหลือผู้ เรียนตามความจำ
� เป็น และติดตาม
ความก้าวหน้าของการทำ
�งานของผู้เรียนตลอดจนคอยให้
คำ
�ชี้แนะ และให้ความรู้เพิ่มเติมที่จำ
�เป็น หรือช่วยเหลือผู้เรียน
ให้สามารถทำ
�ตามแผนการที่วางไว้ได้จนบรรลุตามวัตถุประสงค์
หรือเป้าหมายที่ผู้เรียนกำ
�หนดไว้ ในช่วงท้ายของการทำ
�โครงงาน
ผู้เรียนจะต้องมีการเผยแพร่หรือนำ
�เสนอกระบวนการและผลที่
ได้จากการทำ
�โครงงานให้ผู้อื่นได้รับทราบเพื่อรับการประเมิน
และข้อเสนอแนะหรือผลสะท้อนกลับทั้งจากผู้สอน เพื่อน และ
บุคคลอื่น ๆ เช่น ผู้ปกครอง ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้อง หรือ บุคคล
ทั่วไปในชุมชน
ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานมีความ
ยืดหยุ่น ขึ้นอยู่กับกระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้เพื่อ
ให้ได้มาซึ่งข้อมูลและตัวข้อมูลที่ได้มาว่ามีความลึกซึ้ง
เพียงพอที่จะตอบคำ
�ถามที่ผู้เรียนสงสัยหรือสนใจอยากจะรู้หรือไม่
ซึ่งระยะเวลาในการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเรื่องหนึ่ง
อาจจะใช้เวลาหนึ่งสัปดาห์ หรืออาจจะใช้เวลาสองถึงสามเดือนก็ได้
สำ
�หรับในสะเต็มศึกษา ซึ่งเป็นแนวทางการจัดการศึกษา
ที่บูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และ
วิศวกรรมศาสตร์ โดยเน้นการนำ
�ความรู้ไปใช้แก้ปัญหา
ในชีวิตจริงและการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่
ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำ
�เนินชีวิต ได้แนะนำ
�ทางเลือก
หนึ่งของการจัดการเรียนรู้ที่ผู้สอนสามารถทำ
�ได้คือการจัด
สะ เ ต็มศึกษา โดยใช้กระบวนการ เรียนรู้แบบโครง งาน
เพื่อแก้ไขปัญหาที่พบเห็นในชีวิตจริง ซึ่งจะทำ
�ให้ผู้เรียนได้รับ
ประสบการณ์ที่พัฒนาทักษะชีวิตและความคิดสร้างสรรค์
อันนำ
�ไปสู่การสร้างนวัตกรรม ผู้เรียนที่มีประสบการณ์ใน
การทำ
�โครงงานสะเต็มจะมีความพร้อมในการปฏิบัติงานที่
ต้องใช้องค์ความรู้ และทักษะด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
และเทคโนโลยีในภาคการผลิตและการบริการที่สำ
�คัญต่อ
อนาคตของประเทศ
อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม แ ม้ จ ะ เ ห็ น ไ ด้ อ ย่ า ง ชั ด เ จ น ว่ า
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานสามารถส่งเสริมการเรียนรู้
สะเต็มศึกษาให้กับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 แต่ผู้สอนหลายท่าน
ยังขาดความ เข้า ใจที่ชัด เจนว่าการจัดการ เรียนรู้แบบ
โครงงานคืออะไร มีกระบวนการจัดการเรียนรู้อย่างไร
และลักษณะสำ
�คัญของการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
เป็นอย่างไร ในบทความนี้จึงจะให้ข้อมูลเบื้องต้นเพื่อตอบ
คำ
�ถามเหล่านี้
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานมีกระบวนการอย่างไร
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานมีกระบวนการหรือขั้นตอน
ในการจัดการเรียนรู้ที่ไม่ตายตัว เน้นที่การนำ
�กระบวนการ
ในการทำ
�โครงงาน (project) มาใช้เป็นแนวทางหรือขั้นตอน
ของกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน ดังนั้นในบางครั้ง การ
จัดการเรียนรู้ในรูปแบบนี้จึงถูกเรียกว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้
โครงงานเป็นฐาน ซึ่งแตกต่างไปจากการการทำ
�โครงงานสั้น ๆ
หลังเรียนจบแต่ละหน่วยการเรียนรู้ หรือ การมอบหมายให้ผู้เรียน
ไปทำ
�โครงงานนอกเวลาเรียน หรือ กิจกรรมเพิ่มเติมจากการเรียน
การสอนตามรายวิชาทั่วไป การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
แบบโครงงานจึงเปรียบเหมือนอาหารจานหลักไม่ใช่ของหวานตบท้าย