Previous Page  18 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 18 / 62 Next Page
Page Background

18

นิตยสาร สสวท.

โลกทัศน์เปิดกว้าง

บนตารางการคูณ

ตารางการคูณเป็นการแสดงการคูณของจำ

�นวนนับอย่างเป็น

ระเบียบ หรือแสดงภาพโดยรวมของสูตรคูณนั่นเอง ในบทความนี้

จะขอแสดงการคูณกันของจำ

�นวนนับตั้งแต่ 1 ถึง 10 ดังนี้

ปรีชา เนาว์เย็นผล

ผู้เชี่ยวชาญ สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษาตอนต้น สสวท. / e-mail :

preechanow@gmail.com

ผลคูณของจำ

�นวนนับบนตารางการคูณมีระบบเป็นระเบียบ

ทำ

�ให้เกิดแบบรูปของจำ

�นวนมากมายนำ

�ไปสู่การค้นหาความ

สัมพันธ์และสรุปเป็นกฎเกณฑ์ได้โดยใช้การให้เหตุผลแบบอุปนัย

เพื่อความสะดวกในการกล่าวถึง จะขอนำ

�เสนอตารางเฉพาะ

ส่วนที่เป็นผลคูณเท่านั้น โดยไม่แสดงส่วนที่แรเงาจากตาราง

ข้างต้นซึ่งเป็นตัวตั้งและตัวคูณ

1. เมื่อลากเส้นตามแนวทแยงมุมจากมุมบนซ้ายมายัง

มุมล่างขวา เส้นทแยงมุมนี้เปรียบเสมือนเส้นสะท้อนตำ

�แหน่ง

ของจำ

�นวนที่อยู่ทางด้านซ้ายและด้านขวาของเส้นทแยงมุมใน

ตำ

�แหน่งที่ตรงกันซึ่งเป็นจำ

�นวนที่เท่ากัน เนื่องจาก

การคูณมี

สมบัติการสลับที่

และพบว่าเส้นทแยงมุมนี้ลากผ่านตำ

�แหน่ง

ของ

จำ

�นวนกำ

�ลังสอง

ได้แก่ 1, 4, 9, … , 100

2. พิจารณาจำ

�นวนในแถวบนสุด เช่น เมื่อนำ

� 2 บวก

กับ 3, 2 + 3 = 5 ในสดมภ์เดียวกันของ 2, 3, 5 จะเห็นว่า

4 + 6 = 10, 6 + 9 = 15, 8 + 12 = 20, 10 + 15 = 25, … ,

20 + 30 = 50 ลองคิดว่าสามารถนำ

�สมบัติใดทางคณิตศาสตร์

มาอธิบายว่าเป็นจริงเสมอ

พิจารณา 4 + 6 = 10 คือ 2(2 + 3) = 2(5),

6 + 9 = 3(2 + 3) = 3(5), 8 + 12 = 4(2 + 3) = 4(5)

จะเห็นว่ามีความเชื่อมโยงกับสมบัติการแจกแจงนั่นเอง

แนวคิดนี้สามารถขยายเป็นการบวกจำ

�นวนหลาย ๆ จำ

�นวนได้

เช่น การหาผลบวกของ 6 + 9 + 12 ซึ่งอยู่ในแถวที่ 3 และ

สดมภ์ที่ 2, 3, 4 ตามลำ

�ดับ จะเห็นว่า 2 + 3 + 4 = 9 ดูแถว

ที่ 3 สดมภ์ที่ 9 ตรงกับ 27 ซึ่งเป็นผลบวกของ 6 + 9 + 12

มองอีกแง่มุมหนึ่ง การหาผลคูณ 3(2 + 3 + 4) สามารถหาได้

จากผลบวกของจำ

�นวนในแถวที่ 3 สดมภ์ที่ 2, 3, 4 เพราะว่า

3(2 + 3 + 4) = 6 + 9 + 12

ถ้าต้องการหาผลบวกของ 18 + 24 + 30 + 36 ซึ่งอยู่ในแถวที่

6 สดมภ์ที่ 3, 4, 5, 6 มีวิธีง่าย ๆ คือ นำ

� 6 คูณกับผลบวก 3 + 4 + 5

+ 6 จะได้ 6 × 18 = 108 เป็นการอาศัยสมบัติการแจกแจงนั่นเอง

ถ้าต้องการหาผลบวกของจำ

�นวน 12 จำ

�นวนที่อยู่เรียงกันเป็น

รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ได้แก่จำ

�นวนในแถวที่ 2, 3, 4, 5 และสดมภ์

ที่ 7, 8, 9 จะเห็นว่าสามารถหาได้จาก (2 + 3 + 4 + 5) คูณกับ

(7 + 8 + 9) โดยอาศัยสมบัติการแจกแจงเช่นเดียวกัน

X