

23
ปีที่ 42 ฉบับที่ 188 พฤษภาคม - มิถุนายน 2557
4. ควรถามเฉพาะค�
ำถามที่จ�
ำเป็นเท่านั้น
ค�
ำถามที่ฟุ่มเฟือย กระทบกระเทียบเปรียบเปรย หรือไม่ได้ต้องการ
ค�
ำตอบจริง ๆ เช่น “รูปสี่เหลี่ยมมันก็มี 4 ด้านไม่ใช่หรือ” นอกจากจะไม่เกิดประโยชน์แล้วยังอาจท�
ำให้ผู้เรียน
ละความสนใจจากบทเรียนได้ง่าย ๆ
5. ใช้ค�
ำกริยาที่ชวนให้ใช้ความคิดระดับสูง
(ตามแนว Bloom’s Taxonomy) เช่นค�
ำว่า ลองสังเกต ลองพิจารณา
เปรียบเทียบความเหมือนความต่าง เชื่อมโยง อธิบาย ระบุ จ�
ำแนกแยกแยะ ตัดสินใจ ลองคาดการณ์ ฯลฯ ค�
ำเหล่านี้
จะช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนได้คิด จนเกิดความเข้าใจที่ลุ่มลึกและสามารถขยายความคิดต่อไปได้อีก
3. ใช้ค�
ำถามปลายเปิด
ค�
ำถามปลายเปิดจะเป็นสิ่งท้าทายและช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักคิด ต่างจากค�
ำถาม
ปลายปิดประเภท “ใช่หรือไม่ใช่” ซึ่งผู้เรียนไม่ต้องคิดอะไรมาก บางทีก็ตอบไปแบบเดา โดยยังไม่ได้ไตร่ตรอง
• 4 + 6 เท่ากับเท่าไร (ตอบ 10)
• รูปสี่เหลี่ยมมีด้านกี่ด้าน (ตอบ 4 ด้าน)
• มีจ�
ำนวนใดบ้างที่รวมกันแล้วได้เท่ากับ 10
• ผู้เรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างในรูปสี่เหลี่ยม
พิจารณาการถามค�
ำถามในเรื่องเดียวกันข้างต้นจะเห็นว่า
ถ้าใช้ค�
ำถามแบบปลายปิดครูก็จะได้รับค�
ำตอบ (ที่ถูกต้อง) กลับ
มาเพียงแบบเดียวและไม่สามารถตรวจสอบได้ว่านักเรียนเข้าใจ
ในเรื่องนั้นจริงหรือไม่ ต้องเปลี่ยนโจทย์เพื่อถามใหม่อีก แต่ถ้าครู
ใช้ค�
ำถามแบบปลายเปิด ครูจะได้ค�
ำตอบจากนักเรียนมากมาย
หลายแบบ และสามารถใช้เป็นประเด็นในการเรียนเพื่อสร้าง
ความเข้าใจต่อไปได้อีก นอกจากนี้ค�
ำถามปลายเปิดยังช่วยเสริม
สร้างความมั่นใจในตนเองแก่ผู้เรียน เพราะผู้เรียนสามารถอธิบาย
สิ่งที่ตนเองคิดได้อิสระ และไม่รู้สึกกดดันกับผลของการตอบผิด
หรือตอบถูกจากค�
ำถามปลายปิด ผู้เรียนจะรู้สึกว่าตนเองได้เป็น
ผู้ค้นพบแทนที่จะต้องคอยตั้งรับค�
ำถามจากครู