

24
นิตยสาร สสวท.
6. ใช้ค�
ำถามที่เปิดประเด็นการเรียนการสอน
ค�
ำถามที่น่าสนใจจะช่วยเปิดประเด็นให้ผู้เรียนในห้องได้ร่วมกัน
อภิปรายเชื่อมโยงระหว่างความรู้เดิมกับสิ่งที่ก�
ำลังจะเรียนรู้ใหม่ ซึ่งการสนทนาแลกเปลี่ยนนี้อาจเกิดได้ทั้งระหว่าง
ผู้สอนกับผู้เรียน และระหว่างผู้เรียนด้วยกันเอง
7. ใช้ค�
ำถามที่มีระดับความยากพอเหมาะ
ค�
ำถามที่ยากหรือง่ายจนเกินไปจะท�
ำให้ผู้เรียนละความสนใจจากการ
เรียนได้ เพราะผู้เรียนมักจะกลัวค�
ำถามยากๆที่ท�
ำให้ตนเองตอบไม่ได้ ในขณะที่ถ้าค�
ำถามง่ายเกินไปก็ท�
ำให้รู้สึกเบื่อ
หน่าย นอกจากนี้ผู้สอนยังควรระวังการใช้ค�
ำพูดและภาษากายที่ไล่จี้ผู้เรียน เช่น การจ้องหน้า การชี้ไม้ชี้มือเรียก
หรือการใช้น�้
ำเสียงที่ผิดปกติ สิ่งเหล่านี้สามารถท�
ำให้การคิดสะดุดลงได้
นอกจากนี้การที่ค�
ำถามจะใช้ได้ผลดียังขึ้นอยู่กับความสามารถในการการเลือกและปรับใช้ข้อค�
ำถามได้อย่างเหมาะสมกับ
สถานการณ์เฉพาะหน้า อยากให้ผู้อ่านลองพิจารณาสถานการณ์ตัวอย่างการสอนเรื่อง ความชันของกราฟเส้นตรง ที่ผู้สอนพยายาม
ปรับใช้ชุดค�
ำถามเพื่อกระตุ้นการคิดของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ดังนี้
x
y
8. ถามแล้วให้เวลาคิด
การให้เวลานักเรียนได้คิดสัก 2 - 3 นาที (หรือมากกว่านั้น) จะช่วยให้นักเรียนตอบสนอง
ได้ดีขึ้นทั้งแง่ปริมาณและคุณภาพ ผู้เรียนที่เรียนรู้ได้ช้าและไม่ค่อยมั่นใจจะเริ่มกล้าตอบมากขึ้นเพราะเขามีเวลามาก
พอที่จะเรียบเรียงความคิดออกมาเป็นค�
ำพูดได้ทัน