Previous Page  19 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 19 / 62 Next Page
Page Background

19

ปีที่ 42 ฉบับที่ 188 พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

3. ผลบวกของจำ

�นวนในแต่ละแถว หรือแต่ละสดมภ์เป็น

พหุคูณของ 55

เช่น ผลบวกของจำ

�นวนในแถวที่1 เป็น

1+2+3+ … +10 = 55

ผลบวกของจำ

�นวนในแถวที่2 เป็น

2+4+6+ … +20 = 2(1+2+3+ … +10) = 2(55) = 110

ผลบวกของจำ

�นวนในแถวที่ 9 เป็น

9+18+27+ … +90 = 9(1+2+3+ … +10) = 9(55) = 495

โดยอาศัยสมบัติการแจกแจงเช่นเดียวกัน

4. ความสัมพันธ์ของจำ

�นวนห้าจำ

�นวนในกรอบรูปกากบาท

เมื่อเขียนรูปกากบาทล้อมรอบจำ

�นวนห้าจำ

�นวน เช่น

เมื่อขยายรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากออกไปเป็นขนาดอื่น เช่น

ล้อมจำ

�นวนในลักษณะ 4 แถว 3 สดมภ์จะได้ว่า ผลต่างของผลบวก

ของจำ

�นวนสองจำ

�นวนที่มุมและอยู่ในแนวทแยงมุม เท่ากับ

(4-1)×(3-1) = 6 เสมอ

ตารางแรกพบว่า ผลบวกของจำ

�นวนที่อยู่ตรงกันข้าม ได้แก่

4+8 = 3+9 = 12 และเท่ากับ 2 เท่าของจำ

�นวนตรงกลางคือ 2×6

ตารางที่สองพบว่า ผลบวกของจำ

�นวนที่อยู่ตรงกันข้าม

ได้แก่ 8+16 = 9+15 = 24 และเท่ากับ 2 เท่าของจำ

�นวน

ตรงกลาง คือ 2×12

ขยายไปสู่ความสัมพันธ์ในรูปทั่วไป คือ a+e = b+d = 2×c

5. เมื่อเขียนกรอบรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากล้อมรอบจำ

�นวน

สี่จำ

�นวนใด ๆ ที่เรียงติดกันในลักษณะ 2 แถว 2 สดมภ์

จะได้ว่าผลต่างของผลบวกของจำ

�นวนสองจำ

�นวนในแนวทแยงมุม

เท่ากับ (2-1)×(2-1) = 1 เสมอ เช่น

(18 + 28) – (21 + 24)

= 46 – 45 = 1

= (2-1)×(2-1)

(42 + 56) – (49 + 48)

= 98 – 97 = 1

= (2-1)×(2-1)

(12+35) – (21+20)

= 47 – 41 = 6

= (4-1)×(3-1)

(12+42) – (21+24)

= 54 – 45 = 9

= (4-1)×(4-1)

ล้อมจำ

�นวนในลักษณะ 4 แถว 4 สดมภ์จะได้ผลต่าง เท่ากับ

(4-1)×(4-1) = 9