

13
ปีที่ 42 ฉบับที่ 188 พฤษภาคม - มิถุนายน 2557
การค้นคว้าวิจัยในลักษณะร่วมมือกันของนักวิทยาศาสตร์
หลายพันกว่าคนจากทั่วโลก ที่ท�
ำงานอย่างมุมานะ บากบั่น
เพื่อการไปให้ถึงจุดหมายปลายทางเดียวกัน อย่างการท�
ำงานของ
นักวิทยาศาสตร์ที่เซิร์น เป็นการค้นคว้าวิจัยที่เป็นแบบอย่างของ
การท�
ำงานในศตวรรษที่ 21 เพราะโจทย์ปัญหาที่ส�
ำคัญและ
ท้าทายมนุษยชาติในศตวรรษนี้ หลายโจทย์ ไม่สามารถด�
ำเนิน
การแก้ไขได้ด้วยการท�
ำงานของนักวิทยาศาสตร์เพียงคนใดคนหนึ่ง
หรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งอีกต่อไป ไม่ว่าจะเป็น โจทย์เกี่ยวกับปัญหา
การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศวิกฤตด้านพลังงานการก่อการร้าย หรือ
โรคระบาด โจทย์ส�
ำคัญเหล่านี้ ต้องอาศัยการร่วมมือกันของ
ทีมนักวิทยาศาสตร์และนักวิชาการที่เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ
จากทั่วโลก ที่จะสามารถท�
ำงานร่ วมกันเป็ นหนึ่งเดียว
อย่างไม่ย่อท้อ ไม่เห็นแก่ชื่อเสียง หรือ เหรียญรางวัลและมีความมุ่งมั่น
ในการไปสู่จุดมุ่งหมายเดียวกัน คล้ายกับการค้นคว้าวิจัย
เพื่อพยายามค้นหาอนุภาคฮิกส์ตลอดระยะเวลากว่าครึ่งศตวรรษ
ของกลุ่มนักฟิสิกส์จ�
ำนวนหลายพันคนที่เซิร์นและที่อยู่ในสถาบัน
ต่าง ๆ ทั่วโลก
ขอแสดงความยินดีอีกครั้งกับ ศาสตราจารย์ ปีเตอร์ ฮิกส์ และ
ศาสตราจารย์ฟรองซัวส์ อองแกลร์ รวมทั้ง นักฟิสิกส์ วิศวกร
เจ้าหน้าที่อาคาร ช่างไฟ ฯลฯ จ�
ำนวนหลายพันคนที่องค์กรเซิร์น และ
ที่สถาบันต่าง ๆ ทั่วโลก กับการได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการพิชิต
ยอดเขาเอเวอเรสต์ของการค้นคว้าวิจัยทางฟิสิกส์ครั้งส�
ำคัญครั้งนี้
ความส�
ำเร็จของผลงานที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ปี
ค.ศ. 2013 จึงไม่เป็นเพียงความส�
ำเร็จของนักฟิสิกส์ 2 คน แต่
เป็นความส�
ำเร็จของนักฟิสิกส์ จ�
ำนวนหลายพันคน ที่มีส่วน
เกี่ยวข้องกับทุกขั้นตอนในการค้นคว้าวิจัยทางฟิสิกส์ครั้งยิ่งใหญ่
ครั้งนี้ หากแต่ รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ไม่สามารถมอบให้กับ
องค์กรใดองค์กรหนึ่ง หรือ กับกลุ่มบุคคลใดกลุ่มบุคคลหนึ่งได้
เ หรียญรา ง วัล โน เ บล และ เ งินรา ง วัลมูลค่ าประมาณ
US $ 1.1million หรือประมาณ 36 ล้านบาท รวมทั้งเกียรติยศ
ชื่อเสียง ที่ได้ถูกจารึกลงไปในประวัติศาสตร์ของผู้ได้รับรางวัลโน
เบลจึงตกเป็นเพียงของนักฟิสิกส์ 2 คนที่ได้ให้แนวคิดเชิงทฤษฎี
ไว้ ในขณะที่นักฟิสิกส์อีกหลายพันคน กลับดูเหมือนเป็น
ผู้ที่อยู่ฉากหลัง ทั้งที่ความจริงคือ หากไม่มีพวกเขาแล้ว ชาวโลกคง
อาจจะยังไม่รู้ เลยว่าอนุภาคฮิกส์และกระบวนการบีอีเอช
มีจริงหรือไม่ แล้วการค้นคว้าวิจัยต่อไปทางด้านฟิสิกส์อนุภาค
James Gilles หนึ่งในนักฟิสิกส์และหัวหน้าฝ่ายสื่อสาร
องค์กรของ CERN ได้กล่าวถึงสถานการณ์ที่คล้ายกันนี้ไว้ใน
วารสาร CERN Courier (Gilles, 2008) วารสารที่เผยแพร่
ข่าวสาร ความรู้และความก้าวหน้าทางการค้นคว้าวิจัยทางฟิสิกส์
อนุภาค โดย Gilles กล่าวว่า นักฟิสิกส์และนักปีนเขาเหมือนกัน
ในหลายอย่าง พวกเขาแข่งขันกันอย่างดุเดือดแต่ในขณะเดียวกัน
พวกเขาก็ท�
ำงานร่วมกันเป็นทีมอย่างขยันขันแข็ง โดยใน
การค้นคว้าวิจัยทางฟิสิกส์และในการปีนเขา ใครจะค้นพบอะไร
ก่อนหรือใครปีนขึ้นไปถึงยอดเขาก่อน หรือ ใครจะได้รับการจารึก
ชื่อในประวัติศาสตร์หรือใครจะได้เป็นผู้ได้รับการถ่ายภาพบันทึก
ไว้นั้น ไม่ส�
ำคัญเท่ากับ ความส�
ำเร็จที่เกิดขึ้น
บรรณานุกรม
Gilles, J. (2008, 19 Sep). A Mechanism for Mass.
CERN Courier
Online.
Retrieved February 5, 2014, from http://
cerncourier.com/cws/article/cern/35887.ควรจะเป็นไปในทิศทางใด ด้วยวิธีการใด
ภาพที่ 5 เหรียญรางวัล
(ที่มา: Nobel Foundation)
สแกนโค้ดนี้เพื่อ
ชมภาพเคลื่่อนไหว