

47
ปีที่ 42 ฉบับที่ 189 กรกฎาคม - สิงหาคม 2557
ตัวอย่างที่ 2 เรื่อง “ประชาธิปไตยในเอเธนส์”
ตัวอย่างข้อสอบการอ่านเรื่องนี้จะมีเนื้อเรื่องให้อ่านสองหน้า เมื่ออ่านเนื้อเรื่องในหน้า 1 จบแล้ว นักเรียนจะต้องคลิกที่
เลข 2 (มุมขวาบน) เพื่อไปอ่านเนื้อเรื่องในหน้า 2 (หากต้องการย้อนกลับไปดูเนื้อหาในหน้า 1 ให้ก็คลิกเลข 1 ที่มุมซ้ายบน)
จากนั้นคลิกที่ลูกศรถัดไป เพื่อไปยังข้อคำ
�ถาม สถานการณ์ของข้อสอบนี้อยู่ในบริบท
การศึกษา
ที่เขียนอธิบายอยู่ในรูปของ
บทความทางประวัติศาสตร์ ถึงแม้เรื่องนี้จะห่างไกลจากประสบการณ์ในชีวิตประจำ
�วันของนักเรียนอายุ 15 ปี และในเนื้อเรื่อง
จะไม่พูดอย่างชัดเจนว่าประชาธิปไตยคืออะไร แต่ก็เพียงพอที่จะทำ
�ให้นักเรียนสามารถเข้าใจถึงเนื้อหาที่เกี่ยวกับประชาธิปไตย
ในเอเธนส์ได้
คลิกที่เลข 2 เพื่ออ่านเนื้อเรื่องในหน้า 2
คลิกเพื่อไปยังหน้าคำ
�ถาม
คำ
�ถามที่ 1 ข้อสอบนี้วัดสมรรถนะ
การบูรณาการและตีความ
ข้อคำ
�ถามต้องการให้นักเรียนบอกจุดประสงค์อีกประการหนึ่ง
ของสุนทรพจน์ของธูซิดิดิสโดยเชื่อมโยงกับเนื้อเรื่องที่ให้มาแล้ว
พิมพ์คำ
�ตอบ
ตามความคิดเห็นของนักเรียน
ตอนที่1
ธูซิดิดีส เป็นนักประวัติศาสตร์และทหารที่มีชีวิตอยู่เมื่อศตวรรษที่ 5 ก่อนศริสตกาล
ในยุคกรีกโบราณ เขาเกิดในกรุงเอเธนส์ ในช่วงสงครามเพโลพอนเนสเซียน(431-
404 ปีก่อนคริสตกาล) ระหว่างเอเธนส์กับสปาร์ต้า เขามีตำ
�แหน่งควบคุมกองเรือที่มี
ภารกิจคือป้องกันเมืองแอมพิโพลิสในนครเทรซ เขาไปถึงเมืองช้าไปและเมืองตกอยู่
ในมือของบราซิตัสนายพลชาวสปาตาร์ ซึ่งเนรเทศธูซิดิดีส ออกไปเป็นเวลา 20 ปี
สิ่งนี้ช่วยให้เขามีโอกาสเก็บรวบรวมข้อมูลจากทั้งสองฝ่ายที่ทำ
�สงครามกันและเปิด
โอกาสให้เขามีผลงานค้นคว้าเรื่อง ประวัติศาสตร์ของสงครามเพโลพอนเนสเซียน
ธูซิดิดีสนับว่าเป็นหนึ่งในยอกนักประวัติศาสตร์ยุคโบราณ เขามุ่งความสนใจในเรื่อง
สาเหตุจากธรรมชาติและพฤติกรรมของแต่ละคนมากกว่าเรื่องโชคชะตาหรือการกระทำ
�
ของพระเจ้า เพื่ออธิบายวิวัฒนาการของประวัติศาสตร์ ในงานของเขาจะไม่เพียง
บรรยายข้อเท็จจริงเท่านั้นแต่จะพยายามหาเหตุผลที่ชักจูงให้ตัวละครหลักเกิดการกระทำ
�
ในลักษณะนั้น ธูซิดิดัส เน้นในเรื่องพฤติกรรมของแต่บุคคลทำ
�ให้บางครั้งเขาเริ่ม
แต่งสุนทรพจน์ขึ้นมา สิ่งเหล่านี้ช่วยให้เขาอธิบายแรงจูงใจของตัวละครในประวัติศาสตร์
ตอนที่ 2
ธูซิดิดีสเขียนในฐานะของเพริคลิส(ศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล) ผู้ปกครองชาวเอเธนส์
สุนทรพจน์ต่อไปนี้เป็นเกียรติแก่ทหารที่พลีชีพในปีแรกของสงครามเพโลพอนเนสเซียน
ระบบการปกครองของพวกเราไม่ได้ลอกเลียนมาจากรัฐข้างเคียง เราเป็นแบบอย่าง
ให้ผู้อื่นมากกว่าที่เราจะเป็นผู้ลอกเลียนแบบ ระบบของเราเรียกว่าประชาธิปไตย
เนื่องจากเป็นการบริหารที่ขึ้นอยู่กับคนส่วนใหญ่มากกว่าคนไม่กี่คน กฏหมาย
ของเราพยายามให้สิทธิเท่าเทียมกันในเรื่องของแต่ละบุคคล แต่ทว่าชื่อเสียงเกียรติยศ
ต่อสาธารณะขึ้นอยู่กับคุณความดีมากกว่าระดับชนชั้นในสังคม
ระดับชนชั้ันในสังคมไม่ได้กีดกันบุคคลจากการรับตำ
�แหน่งทางสังคมเช่นกัน(...)
และในเวลาเดียวกันเราจะไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับเรื่องส่วนตัว เราไม่ฝ่าฝืนกฏหมาย
ในเรื่องสาธารณะ เราจะทำ
�ตามผู้ที่อยู่ในตำ
�แหน่งที่มีอำ
�นาจสั่งการ และเราจะทำ
�ตาม
กฏหมายโดยเฉพาะส่วนปองกันการกดขี่ และกฏหมายที่ไม่ได้เขียนเป็นลายลักษณ์
อักษรซึ่งถือเป็นความน่าละอายที่จะละเมิด
ยิ่งไปกว่านั้น เรายังมีสิ่งน่าเพลิดเพลินใจอีกมากมาย เกมการแข่งขันและการบวงสรวง
ที่เฉลิมฉลองกันตลอดปี จากความสง่างามของสถานที่พักอาศัยส่วนตัวของพวกเรา
ซึ่งสร้างความพึงพอใจในแต่ละวันและช่วยกำ
�จัดความวิตกกังวลต่างๆออกไป ในขณะที่
ผู้อาศัยในเมืองจำ
�นวนมากสามารถดึงผลผลิตจากทั่วโลกมาสู่เอเธนส ดังนั้นชาวเอเธนส์
จึงคุ้นเคยกันกับผลไม้ของประเทศอื่น เช่นเดียวกับคนในประเทศนั้นๆ