Previous Page  48 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 48 / 62 Next Page
Page Background

48

นิตยสาร สสวท.

คำ

�ตอบถูก:

ได้คะแนนเต็ม

อ้างถึงแรงจูงใจ (ทางการเมือง) ในฐานะของเพริคลิส อาจอ้างถึง: การชักจูงทหารให้พยายามต่อสู้ต่อไป การให้กำ

�ลังใจแก่ครอบครัว

ของผู้เสียชีวิต การส่งเสริมความภาคภูมิใจในการเป็นพลเมืองชาวเอเธนส์ หรือการเน้นข้อดีของเอเธนส์เปรียบเทียบกับสปาร์ต้าหรือ

เมืองอื่น ๆ คำ

�ตอบต้องมีความเป็นไปได้และสอดคล้องกับเรื่อง

• เพื่อทำ

�ให้ผู้คนภูมิใจในเอเธนส์

• เพื่อส่งเสริมความคิดและทัศนคติในด้านบวก

• เพื่ออธิบายประโยชน์ของประชาธิปไตยแบบเอเธนส์ • เพื่อทำ

�ให้ประชาชนใช้ความรุนแรงต่อต้านชาวสปาร์ต้า

• ทำ

�ให้ผู้คนคิดว่าเอเธนส์ยังคงไม่เป็นไร แม้ว่าความเป็นจริง

ตอนนี้พวกเขากำ

�ลังเผชิญกับปัญหา

อ้างถึงจุดประสงค์ของธูซิดิดิสในความเข้าใจถึงแรงจูงใจหรือวิธีการคิดของเพริคลิส

• เพื่ออธิบายแรงจูงใจ/จิตวิทยาของเพริคลิส

• เพื่ออธิบายว่าทำ

�ไมเขาจึงทำ

�อย่างที่เขาทำ

คำ

�ตอบถูก:

ได้คะแนนบางส่วน

ให้คำ

�ตอบที่อ้างเพียงการอธิบายว่าประชาธิปไตยเป็นอย่างไร

• เพื่อแนะนำ

�ประชาธิปไตย

• เพื่ออธิบายประชาธิปไตยให้กับประชาชน

สำ

�หรับสัดส่วนของข้อสอบการอ่านของ PISA 2015 จะวัด

สมรรถนะการเข้าถึงและค้นคืนสาระประมาณ 25%การบูรณาการ

และตีความประมาณ 50% และการสะท้อนและประเมิน

ประมาณ 25%

ในการทำ

�ข้อสอบการอ่านของ PISA นอกจากนักเรียนจะต้อง

มีทักษะการอ่านออกและเขียนได้เป็นอย่างดีแล้ว ยังต้องสามารถ

สร้างความเข้าใจกับสิ่งที่อ่านแล้วสะท้อนออกมาเป็นความคิด

เห็นของตนเอง หากจะฝึกฝนนักเรียนให้มีความสามารถด้านการอ่าน

ครูควรให้นักเรียนได้มีโอกาสอ่านเนื้อเรื่องในรูปแบบต่าง ๆ

อ่านเนื้อเรื่องที่มีหลากหลายสถานการณ์ทั้งที่นักเรียนคุ้นเคย

หรืออาจไม่คุ้นเคย หรือมีความซับซ้อนของเนื้อหาที่แตกต่างกัน

และเมื่อนักเรียนอ่านเนื้อเรื่องแล้ว ครูควรตั้งคำ

�ถามให้นักเรียน

วิเคราะห์และสรุปความจากเนื้อเรื่องเปรียบเทียบความเหมือน

หรือบอกความต่างในประเด็นสำ

�คัญของเรื่อง และแสดงความ

คิดเห็นต่อเรื่องที่อ่าน ซึ่งหากนักเรียนได้มีโอกาสฝึกฝนทักษะ

ดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง ผ่านการช่วยเหลือสนับสนุนจากครู ก็

ย่อมช่วยพัฒนาความสามารถด้านการอ่านให้มีประสิทธิภาพ

มากขึ้นได้

บรรนาณุกรม

OECD. (2013).

PISA 2015

Draft Reading Literacy Framework

. Paris: OECD.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554).

กรอบโครงสร้างการประเมินผลนักเรียน

นานาชาติ PISA 2009.

กรุงเทพมหานคร: อรุณการพิมพ์

.

สามารถดาวน์โหลดตัวอย่างข้อสอบและเอกสารเผยแพร่ของโครงการ PISA ได้ที่

http://pisathailand.ipst.ac.th/