

รูปที่ 12
รูปที่ 13
บรรณานุกรม
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงศึกษาธิการ
(2548).
คู่มืออ้างอิง The Geomether's Sketchpad ซอฟต์แวร์
ส�
ำรวจเชิงคณิตศาสตร์ เรขาคณิตพลวัต
. กรุงเทพมหานคร : Key
Curriculum Press.
36
ในที่สุดการสร้างตาชั่งเสมือนก็เสร็จสมบูรณ์ การน�
ำไปใช้
ประกอบการสอนก็เป็นหน้าที่ของครูผู้สอนว่าจะใช้กับนักเรียน
ระดับไหน จะใช้อย่างไร ใช้แล้วจะท�
ำให้นักเรียนเกิดทักษะ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ได้อย่างไร
จากรูปที่ 14 โจทย์จะเป็นอย่างไรช่วยกันแต่งเอาเอง
(สามารถเปลี่ยนแปลง x ได้โดยคลิกปุ่ม สุ่ม x) แต่ที่ส�
ำคัญท่าน
คิดว่าจะมีวิธีที่เป็นไปได้กี่วิธีที่ท�
ำให้ได้ค�
ำตอบ และคิดว่านักเรียน
ในห้องของท่านจะหาได้กี่วิธี ท�
ำอย่างไรจะให้นักเรียนของเราคิด
หาค�
ำตอบได้ด้วยวิธีที่แตกต่างจากคนอื่น ๆ
ลองท�
ำดู
โดยทั่วไปเมื่อใช้ตาชั่งสองแขนเป็นสื่อการสอนเรามักจะใช้
สอนเรื่องของความเท่ากันของสองจ�
ำนวน ซึ่งเป็นเลขฐานสิบ
ลองดัดแปลงตาชั่งเสมือนไปใช้สอนเรื่องการแปลงเลขฐานสิบ
เป็นเลขฐานสองด้งรูปที่ 15 และรูปที่ 16
40. สร้างปุ่มแสดงการท�
ำงาน การเคลื่อนที่ โดยคลิกเลือก
จุดที่แทนตุ้มน�้
ำหนักกับจุดที่สร้างในข้อ 39 เป็นคู่ ๆ (คลิกเลือก
จุดที่แทนตุ้มน�้
ำหนักก่อน) จนครบ 14 คู่ แล้วเลือกค�
ำสั่ง
ปุ่มแสดงการท�
ำงาน/การเคลื่อนที่
จากเมนูแก้ไข ในกล่อง
โต้ตอบที่แผงรายการการเคลื่อนที่ เลือก ชั่วขณะ ที่แผงรายการป้าย
เปลี่ยนเป็น เริ่มต้น ดังรูปที่ 12
41. ซ่อนจุด ที่สร้างในข้อ 39 แล้วคลิกปุ่มแสดงการท�
ำงาน
เริ่มต้น และ คลิกปุ่ม ซ่อน x
42. ที่จุด A" และจุด A"' ใช้การแปลงสร้างจานของตาชั่ง
43. ที่ จุด A สร้างฐานตาชั่ง เข็ม และ สเกล ดังแสดงในรูปที่ 13
รูปที่ 14 ตัวอย่างการจัดวางตุ้มน�้
ำหนักส�
ำหรับให้นักเรียนแก้ปัญหา
รูปที่ 15 ตาชั่งเสมือนส�
ำหรับการแปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง
รูปที่ 16 x เท่ากับจ�
ำนวนใดเมื่อเป็นเลขฐานสิบ