

37
เอกรินทร์ อัชชะกุลวิสุทธิ์
นักวิชาการ สาขาวิจัย สสวท. / e-mail :
eacha@ipst.ac.thส�
ำหรับประเทศไทยจะจัดสอบ PISA 2015 ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2558 มาดูกันว่าการทดสอบสมรรถนะด้านใหม่นี้มี
รายละเอียดอย่างไรบ้าง
กรอบการประเมินการแก้ปัญหาแบบร่วมมือของ PISA 2015 มีดังนี้
พื้นฐานของนักเรียน
สมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ
บริบทของแบบทดสอบ
ทักษะที่นักเรียนมี
- ความรู้ที่ติดตัวมา
- บุคลิกลักษณะ
- การสร้างและเก็บรักษาความเข้าใจที่มีร่วมกัน
- การเลือกวิธีด�
ำเนินการที่เหมาะสมในการแก้ปัญหา
- การสร้างและรักษาระเบียบของกลุ่ม
- ลักษณะเฉพาะของงาน
- โครงเรื่องของปัญหา
- การสื่อสารจากเนื้อเรื่อง
- องค์ประกอบของกลุ่ม
ส่งผลต่อ
นักเรียนต้องแสดงออกถึงสมรรถนะต่าง ๆ
- ทักษะการท�
ำงานแบบร่วมมือ
- ทักษะการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาแบบร่วมมือตามแนวทาง PISA เป็นอย่างไร
สมรรถนะในการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการเข้าร่วมกระบวนการแก้ปัญหาของกลุ่ม
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการแบ่งปันความเข้าใจที่มี และรวบรวมความรู้ ทักษะและความพยายามเข้าด้วยกันเพื่อแก้ปัญหา
โครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (Programme for International Student Assessment หรือ PISA) ประเมินสมรรถนะ
ของนักเรียนในการใช้ความรู้และทักษะสามด้าน ได้แก่การรู้เรื่องการอ่าน การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ และการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ นอกจากนี้ได้มีการ
ประเมินด้านการแก้ปัญหา (Problem Solving) ใน PISA 2003 และ PISA 2012 โดยทั้งสองครั้ง เป็นการประเมินการใช้ทักษะการ
แก้ปัญหาจากโจทย์ที่เป็นสถานการณ์ในชีวิตจริง และเป็นการท�
ำข้อสอบในเล่มแบบทดสอบ แต่ PISA 2015 ได้เปลี่ยนมาเป็นการประเมินด้าน
การแก้ปัญหาแบบร่วมมือ (Collaborative Problem Solving) และท�
ำข้อสอบด้วยคอมพิวเตอร์
PISA 2015
การประเมินด้านการแก้ปัญหาแบบร่วมมือของ