Previous Page  38 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 38 / 62 Next Page
Page Background

38

จากกรอบการประเมิน จะเห็นได้ว่าปัจจัยหลักสองประการ

ที่ส่งผลต่อการเกิดสมรรถนะในการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ ได้แก่

พื้นฐานของนักเรียน และทักษะที่นักเรียนมี

พื้นฐานของนักเรียน

ประกอบด้วย

ความรู้ที่ติดตัวนักเรียนมา ได้แก่ ความรู้ด้านคณิตศาสตร์

การอ่านและการเขียน วิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม และการ

เรียนรู้ในชีวิตประจ�

ำวัน

บุคลิกลักษณะของนักเรียน ได้แก่ อารมณ์และเจตคติ

ประสบการณ์และความรู้ แรงจูงใจ และความสามารถทางการคิด

ทักษะที่นักเรียนมี

ประกอบด้วย

ทักษะการท�

ำงานแบบร่วมมือ ได้แก่ การสร้างความ

เข้าใจร่วมกัน การมองจากมุมมองของผู้อื่น การอธิบาย การเข้าถึง

ผู้ฟัง การประสานงาน การโต้แย้งด้วยเหตุผล การท�

ำตามบทบาท

หน้าที่ และการมีกฎระเบียบร่วมกัน

ทักษะการแก้ปัญหา ได้แก่ การส�

ำรวจและท�

ำความ

เข้าใจ การน�

ำเสนอและคิดหาวิธี การวางแผนและด�

ำเนินการ

และการติดตามและสะท้อนความเห็น

นักเรียนใช้สมรรถนะต่อไปนี้ในการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ

1. การสร้างและเก็บรักษาความเข้าใจที่มีร่วมกัน

รู้และเข้าใจข้อสนเทศที่ส�

ำคัญ รวมทั้งจุดแข็งและ

จุดอ่อนที่สัมพันธ์กับงานที่ตนเองและเพื่อนร่วมกลุ่มต้องด�

ำเนินการ

สื่อสารข้อสนเทศ ติดตาม แก้ไขและเก็บรักษาความ

เข้าใจที่มีร่วมกันตลอดการท�

ำภารกิจ

2. การเลือกวิธีด�

ำเนินการที่เหมาะสมในการแก้ปัญหา

เข้าใจปัญหาและรู้แนวทางการแก้ปัญหาที่เหมาะสม

เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย

สื่อสารในกลุ่มระหว่างท�

ำงานร่วมกันโดยใช้การอธิบาย

การอภิปราย การต่อรอง การให้เหตุผล และการโต้แย้ง

ด�

ำเนินการตามแผนที่วางไว้ร่วมกันตามบทบาทหน้าที่ของตน

3. การสร้างและรักษาระเบียบของกลุ่ม

เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนและเพื่อนร่วมกลุ่ม รวมทั้งเฝ้า

ติดตามและรักษากฎระเบียบที่มีร่วมกัน

สื่อสารและถ่ายทอดข้อสนเทศที่ส�

ำคัญ ตลอดจนปัญหา

และอุปสรรคที่เกิดขึ้นกับเพื่อนร่วมกลุ่ม

บริบทของแบบทดสอบ มีลักษณะดังนี้

ลักษณะเฉพาะของงาน : สถานการณ์ที่ให้นักเรียนแก้ปัญหา

อาจให้ข้อสนเทศมาอย่างชัดเจน หรือให้ข้อสนเทศที่คลุมเครือ

ไม่เพียงพอต่อการท�

ำภารกิจ ดังนั้น นักเรียนต้องใช้ข้อสนเทศที่

ตนเองมี หรืออาจจ�

ำเป็นต้องค้นหาข้อสนเทศเพิ่มเติมและใช้

ข้อสนเทศอื่น ๆ จากเพื่อนร่วมกลุ่มมาประกอบกันเพื่อให้ท�

ภารกิจต่อไปได้

โครงเรื่องของปัญหา : ข้อสอบจะเป็นสถานการณ์ที่เกิดขึ้น

ในห้องเรียน โรงเรียน หรือในชีวิตจริงนอกโรงเรียน และเกี่ยวข้อง

กับเรื่องต่าง ๆ เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การอ่าน สิ่งแวดล้อม

ชุมชน และการเมือง นอกจากนี้ นักเรียนและเพื่อนร่วมกลุ่มซึ่ง

มีทักษะ ข้อสนเทศ และเป้าหมายแตกต่างกัน ยังจ�

ำเป็นต้องใช้

การปฏิสัมพันธ์รูปแบบต่าง ๆ เช่น การโต้แย้งด้วยเหตุผล

การอภิปราย และการโน้มน้าว เพื่อน�

ำมาสู่การตัดสินใจร่วมกัน

ในการท�

ำภารกิจ

การสื่อสารจากเนื้อเรื่อง : สถานการณ์ในข้อสอบอาจให้

ข้อสนเทศโดยตรงหรือโดยอ้อมแก่นักเรียน ข้อสนเทศที่ให้อาจมี

ปริมาณมากหรือเพียงเล็กน้อย หรือสอดคล้องกับชีวิตจริง

ของนักเรียนมากน้อยต่างกัน

องค์ประกอบของกลุ่ม : ในแต่ละภารกิจจะก�

ำหนดให้มี

จ�

ำนวนสมาชิกในกลุ่มต่างกัน และแต่ละคนมีสถานภาพและ

บทบาทหน้าที่ต่างกันด้วย

ลักษณะของข้อสอบการแก้ปัญหาแบบร่วมมือนั้น จะมีการ

ก�

ำหนดสถานการณ์ของปัญหามาให้ ทั้งที่เป็นสถานการณ์ที่เกิด

ในโรงเรียนหรือเกิดขึ้นได้ในชีวิตประจ�

ำวันพร้อมทั้งระบุรายละเอียด

และเงื่อนไขของปัญหา รวมถึงบทบาทหน้าที่ที่นักเรียนและเพื่อน

ร่วมกลุ่มต้องท�

ำ นักเรียนต้องอ่านข้อมูลที่ให้ในสถานการณ์และ

รวบรวมข้อมูลหรือความสามารถที่ทุกคนในกลุ่มมี จากนั้นจึงน�

ข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการตัดสินใจ วางแผนงาน หรือหาข้อสรุป

เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาและท�

ำภารกิจได้ส�

ำเร็จ

ลักษณะข้อสอบด้านการแก้ปัญหาแบบร่วมมือของ PISA

2015 เป็นอย่างไร