

41
บรรณานุกรม
OECD. (2013).
PISA 2015 Draft Collaborative Problem Solving Framework.
OECD. Paris.
ตัวอย่างที่ 2 เรื่อง “สัญลักษณ์ประจ�
ำห้อง”
ข้อสอบเรื่องสัญลักษณ์ประจ�
ำห้องอยู่ในบริบทของสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในโรงเรียน โดยนักเรียนสามคนได้รับมอบหมายให้ร่วมกันสร้าง
ตราสัญลักษณ์ส�
ำหรับงานแข่งขันกีฬาขึ้นมา โดยนักเรียนเป็นหัวหน้ากลุ่มและมีเพื่อนอีก 2 คน (มาร์กและซาร่า) เป็นผู้ออกแบบตราสัญลักษณ์
มีเป้าหมายคือ สัญลักษณ์ต้องได้รับคะแนน 5 ดาว โดยการให้คะแนนจากเพื่อนในชั้นเรียน ซึ่งสามารถปรับตราสัญลักษณ์ได้ 5 ครั้ง
ตามโครงเรื่อง นักเรียนจะมีส่วนร่วมในการช่วยเพื่อนปรับตราสัญลักษณ์ 2 ครั้ง โดยมาร์กเป็นเพื่อนร่วมกลุ่มที่มีลักษณะให้ความ
ร่วมมือเป็นอย่างดี แต่บางครั้งก็มีความเข้าใจที่ผิด ซึ่งนักเรียนต้องช่วยแก้ไข ส่วนซาร่าเพื่อนร่วมกลุ่มอีกคนหนึ่ง มีลักษณะไม่ค่อย
ให้ความร่วมมือ เช่น ขัดจังหวะหรือแย้งเพื่อนร่วมกลุ่ม แสดงความคิดเห็นเชิงลบกับงานของเพื่อน และไม่ท�
ำตามแผนงาน นักเรียน
ในฐานะหัวหน้ากลุ่มจึงต้องให้ค�
ำแนะน�
ำ และน�
ำพากลุ่มให้ท�
ำงานจนส�
ำเร็จให้ได้
การประเมินสมรรถนะด้านการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ เกิดขึ้นจากแนวคิดขององค์การเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ
(Organization for Economic Cooperation and Development, OECD) ซึ่งวิเคราะห์ว่า สมรรถนะด้านนี้จ�
ำเป็นส�
ำหรับการ
ท�
ำงานในอนาคต และการแก้ปัญหาของการท�
ำงานในยุคปัจจุบันให้มีประสิทธิภาพ มักเกิดจากการท�
ำงานร่วมกันเป็นทีม ใน
ปัจจุบัน จึงมีการปรับหลักสูตรการเรียนการสอนในหลายประเทศโดยมุ่งเน้นไปที่การส่งเสริมทักษะการสื่อสารและทักษะความร่วมมือ
ซึ่งเป็นหัวใจส�
ำคัญของสมรรถนะของนักเรียนในศตวรรษที่ 21
แล้วในวันนี้ เรามีแนวทางอย่างไรบ้างเพื่อส่งเสริมเยาวชนไทยให้เกิดสมรรถนะส�
ำคัญด้านนี้ให้มากขึ้น! ศึกษารายละเอียด
เพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงการ PISA ได้ที่
http://pisathailand.ipst.ac.th/พื้นที่แสดงข้อมูลในภาพรวม
ของภารกิจและงานย่อย
พื้นที่แสดงบทสนทนา และตัว
เลือกเพื่อตอบการสนทนา
พื้นที่แสดงร่างตราสัญลักษณ์ที่
ผ่านมาและคะแนนที่ได้รับ
พื้นที่แสดงร่างตราสัญลักษณ์ที่
มาร์กและซาร่าออกแบบ
พื้นที่แสดงข้อมูลของงาน
แข่งขันกีฬา
เข้าใจ
ภาพที่ 3 แสดงส่วนประกอบต่าง ๆ บนหน้าจอขณะท�
ำแบบทดสอบเรื่องสัญลักษณ์ประจ�
ำห้อง