Previous Page  39 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 39 / 62 Next Page
Page Background

ภาพที่ 1 บทน�

ำของข้อสอบเรื่องตู้ปลา

โรงเรียนของนักเรียนได้มีตู้ปลาใหม่เพื่อท�

ำให้บริเวณต้อนรับมีบรรยากาศที่สดใสขึ้น

นักเรียนและนิชาเพื่อนร่วมห้องของนักเรียนได้รับมอบหมายให้จัดตู้ปลา

งานของนักเรียนคือร่วมกับนิชาค้นหาสภาวะที่ดีที่สุดส�

ำหรับปลาที่อาศัยอยู่ในตู้

หมายเหตุ นักเรียนสามารถทดลองได้ 5 ครั้ง เท่านั้น

หน้าจอถัดไปจะให้ค�

ำแนะน�

ำวิธีท�

ำงานร่วมกับนิชา

คลิกที่ลูกศรถัดไป บนแถบสีฟ้าด้านบนเพื่อไปยังบทน�

39

ปัญหาในแต่ละสถานการณ์จะประกอบไปด้วยงานย่อยหลายงานเพื่อน�

ำไปสู่การแก้ปัญหานั้น ๆ ได้ส�

ำเร็จ ในแต่ละงานย่อย นักเรียน

ต้องสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนร่วมกลุ่ม ซึ่งเป็นตัวละครสมมติจากคอมพิวเตอร์ การโต้ตอบกับเพื่อนจะมีลักษณะเดียวกับการแชท (chat)

ที่นักเรียนต้องเลือกประโยคสนทนาจากตัวเลือกที่มีให้ ดังนั้นทางเลือกของการสนทนาจึงมีหลากหลายเส้นทาง อย่างไรก็ตาม

หากนักเรียนเลือกค�

ำตอบที่ไม่ช่วยให้งานด�

ำเนินต่อไปได้ เพื่อนในกลุ่ม (ตัวละครในคอมพิวเตอร์) จะช่วยน�

ำทางให้กลุ่มไปสู่ทางที่เหมาะ

สมกับงานนั้น ๆ และท้ายที่สุดก็จะประสบความส�

ำเร็จในงานย่อยนั้นได้ไม่ว่านักเรียนจะเลือกค�

ำตอบเป็นตัวเลือกใดก็ตาม โดยการ

สนทนาในแต่ละเส้นทางจะมีระดับคะแนนต่างกัน ขึ้นอยู่กับค�

ำตอบของนักเรียนที่แสดงถึงระดับสมรรถนะของการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ

ตัวอย่างที่ 1 เรื่อง “ตู้ปลา”

ข้อสอบเรื่อง “ตู้ปลา” อยู่ในบริบทของสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในโรงเรียน และต้องการวัดความสามารถของนักเรียนในการแก้ปัญหา

เมื่อต้องท�

ำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม โดยในสถานการณ์นี้ นักเรียนและเพื่อนร่วมกลุ่มอีกคนหนึ่ง (นิชา) ได้รับมอบหมายให้ท�

ำการทดลอง

หาสภาวะที่ดีที่สุดส�

ำหรับการเลี้ยงปลาในตู้ปลา ซึ่งสามารถทดลองเปลี่ยนสภาวะได้เพียง 5 ครั้งเท่านั้น

เมื่อเริ่มลงมือท�

ำข้อสอบ หน้าจอจะแสดงชื่อเรื่องของสถานการณ์และรายละเอียดของบทน�

ำซึ่งให้ข้อสนเทศแนะน�

ำสถานการณ์ของ

ปัญหาและการมอบหมายงานให้กับนักเรียน (ภาพที่ 1)

ตัวอย่างข้อสอบการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ