Previous Page  13 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 13 / 62 Next Page
Page Background

3.น�

ำครึ่งวงกลมวัดมุมวางบนกระดาษการ์ ดโดยให้

จุดกลางของครึ่งวงกลมอยู่ตรงมุมกระดาษการ์ดพอดี ให้ผู้สังเกตมอง

จุด X โดยดวงตาอยู่ระดับเดียวกับหน้าโต๊ะ โดยเริ่มมอง

จากทีละฝั่ง (อาจเริ่มจากฝั่งกระดาษการ์ด 1) ใช้ไม้บรรทัดเล็ง

ระยะไปที่จุด X แล้วให้เพื่อนช่วยอ่านค่ามุมที่เกิดจากเส้นฐาน

กับมุมที่ไม้บรรทัดเล็งไปที่จุด X ที่วัดได้จากครึ่งวงกลม บันทึก

ค่าไว้

4.ท�

ำเช่นเดียวกับข้อ 3. แต่เปลี่ยนเป็นมองจุด X จาก

ต�

ำแหน่งกระดาษการ์ด 2 ท�

ำการวัดมุม แล้วบันทึกค่าไว้

5.ค�

ำนวณหาระยะทางระหว่างจุดกึ่งกลางของเส้นฐานกับ

จุด X โดยวาดสามเหลี่ยมที่ได้จากการวัดเป็นสามเหลี่ยมย่อส่วน

ลงในกระดาษทด (อาจก�

ำหนดให้ 10 เซนติเมตร ในกระดาษทด

ของเราเท่ากับ 100 เซนติเมตร ในของจริง) น�

ำครึ่งวงกลมมาวาด

มุมให้เท่ากับที่วัดได้ลงที่ปลายเส้นฐานในกระดาษทด แล้วลาก

เส้นต่อทั้งสองด้านให้บรรจบกันจนเกิดเป็นสามเหลี่ยม ที่จุด

ปลายของสามเหลี่ยมคือต�

ำแหน่งของ X แล้ววัดระยะทางตั้งแต่

จุด X นี้จนถึงจุดกึ่งกลางของเส้นฐาน บันทึกค่าไว้ และค�

ำนวณ

กลับไปเป็นระยะทางจริงของจุด X กับจุดกึ่งกลางที่ท�

การทดลองบนโต๊ะ โดยการน�

ำ 10 ไปคูณกับระยะทางที่วัดได้ใน

สามเหลี่ยมภาพ 3 หรือค�

ำนวณส่วนสูงของสามเหลี่ยมจาก

ความสูง = 5 tan เซนติเมตร

เราสามารถใช้หลักการของสามเหลี่ยมข้างต้น มาใช้ในการหา

ระยะทางจากโลกถึงดวงดาวได้ นั่นคือ ลากเส้นฐานและวัดมุม

ที่เกิดจากเส้นฐานกับเส้นที่มองเห็นวัตถุ ดังภาพ 4

6.ทดลองวัดระยะทางจริงจากจุด X บนผนังห้องมาถึง

จุดกึ่งกลางของเส้นฐานที่วาดไว้บนโต๊ะ เทียบกับระยะทางที่ได้

จากการค�

ำนวณว่าใกล้เคียงกันหรือไม่ (ควรได้ค่าใกล้เคียงกัน)

ส�

ำหรับเส้นฐานที่ยาวที่สุดที่อยู่บนโลกมีค่า 12,742 กิโลเมตร

(เส้นผ่านศูนย์กลางของโลกนั่นเอง) แต่เนื่องจากระยะทาง

ดังกล่าวมีค่าน้อยมากแม้ว่าเทียบกับระยะทางจากโลกถึงดาวที่

ใกล้โลกที่สุด ซึ่งหมายความว่าเส้นฐานใด ๆ ก็ตามบนโลกนั้น

สั้นมาก!!! ด้วยเหตุนี้ เส้นการมองเห็นดวงดาวเมื่อผู้สังเกตอยู่ที่

ต�

ำแหน่งต่าง ๆ กันบนโลกจึงเป็นเส้นที่ขนานกัน ดังภาพ 5

ไม่ว่าจะสร้างเส้นฐานใด ๆ บนโลก เส้นการมองเห็นดวงดาว

จากแต่ละด้านของสามเหลี่ยมก็เป็นเส้นที่ยาวและแคบมากเสมอ

และมุมที่ฐานของสามเหลี่ยมแต่ละด้านดูเหมือนจะเป็นมุมเกือบ

90 องศา ดังนั้นในการหาระยะทางจากโลกถึงดวงดาว

นักดาราศาสตร์จึงใช้การถ่ายภาพและสร้างเส้นฐานที่ยาวกว่า

เส้นฐานบนโลกมาก ๆ ขึ้นมา

นักดาราศาสตร์ท�

ำการบันทึกเส้นการมองเห็นดวงดาวที่อยู่

ใกล้โลกจากต�

ำแหน่งหนึ่งบนโลก จากนั้น เมื่อเวลาผ่านไป 6

เดือน จึงท�

ำการสังเกตดาวดวงเดิมอีกครั้งจากต�

ำแหน่งเดิม

บนโลก ท�

ำไมต้อง 6 เดือน? นั่นเป็นเพราะโลกของเราจะโคจร

ไปอยู่อีกฝั่งหนึ่งของดวงอาทิตย์พอดีนั่นเอง

ภาพ 2 วิธีวัดระยะทางแบบโดยอ้อม

ภาพ 3 วิธีหาระยะทางในกระดาษทด

ภาพ 4 หลักการสามเหลี่ยมที่ประยุกต์ใช้ในการหาระยะทางจากโลกถึง

ดวงดาว

ภาพ 5 ภาพวาดแสดงเส้นการมองเห็นสองเส้นจากโลกจะขนานกัน

หมายเหตุ: ยกเว้นดาวที่อยู่ใกล้ ได้แก่ ดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ เป็นต้น

4. วิธีวัดระยะทางจากโลกถึงดวงดาว

10 เซนติเมตร

ใช้ไม้บรรทัดวัดระยะทางโดยตรง

100 เซนติเมตร

x

13

ปีที่ 43 ฉบับที่ 194 พฤษภาคม - มิถุนายน 2558