Previous Page  14 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 14 / 62 Next Page
Page Background

ระยะทางเฉลี่ยระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์มีค่าประมาณ 150

ล้านกิโลเมตร นักดาราศาสตร์จึงใช้ความยาวเส้นฐานเป็นสองเท่า

ของระยะทางดังกล่าว หรือประมาณ 300 ล้านกิโลเมตร นั่นเอง

ด้วยเส้นฐานที่ยาวมากขนาดนี้จึงท�

ำให้นักดาราศาสตร์สามารถ

วัดมุมระหว่างเส้นฐานกับเส้นการมองเห็นดาวได้ (ดูภาพ 6 )

และจากนั้นนักดาราศาสตร์ก็จะสามารถค�

ำนวณหาระยะทางจาก

โลกถึงดวงดาวต่อไปได้โดยใช้หลักการของสามเหลี่ยมนี้เป็น

พื้นฐาน

ระยะทางที่หาได้ในที่นี้จะเป็นระยะทางจากดวงอาทิตย์

(กึ่งกลางของเส้นฐาน) ไปถึงดวงดาว แล้วระยะทางจากโลกถึง

ดวงดาวจะหาอย่างไร? ในความเป็นจริงแล้วระยะทางระหว่าง

ดวงดาวกับดวงอาทิตย์กับระยะทางระหว่างดวงดาวดังกล่าวกับ

โลกแทบไม่แตกต่างกัน เพราะในสเกลที่ใหญ่ระดับเอกภพระยะทาง

จากดวงอาทิตย์ถึงโลก (150 ล้านกิโลเมตร) ถือเป็นระยะทางที่

สั้นมาก ดังนั้นสามเหลี่ยมที่เกิดขึ้นดังภาพ 6 แท้จริงแล้วเป็น

สามเหลี่ยมที่แคบมาก โดยเส้นฐานยาว 1 หน่วย ระยะของ

ดวงดาวจะเป็นหลายแสนหลายล้านเท่าของฐาน จึงสรุปได้ว่า

ระยะทางจากโลกถึงดวงดาวก็มีระยะทางเท่า ๆ กับระยะทาง

จากดวงอาทิตย์ถึงดาวดวงนั้นด้วย

เฉลย ค�

ำถามชวนคิด

:

ปีแสง

ภาพ 6 ภาพวาดแสดงการวัดระยะทางจากโลกถึงดวงดาวโดยใช้หลักการ

สามเหลี่ยมเป็นพื้นฐาน

39.4 3878 .4

000 , 000 , 800 , 460 ,9

000 , 000 , 200 , 512 ,41

=

บรรณานุกรม

Rand, M. & Company. (1971). Measuring distances

indirectly.

Interaction of Earth & Time,

102-105.

Rand, M. & Company. (1971). Measuring distances to stars.

Interaction of Earth & Time

, 365-367.

ผู้จัดการออนไลน์. (4 ตุลาคม 2550). เปิดโผ 10 ที่สุดในจักรวาล.

สืบค้นเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2558, จาก

http://www.electron

.

rmutphysics.com/science-news/index.

php?option=

com_content&task=view&id=517&Itemid=4&limit=1&

limitstart=2.

นิตยสาร สสวท.

14

น่ารู้

: การหาระยะทางแบบโดยอ้อมนี้อาศัย

ปรากฏการณ์แพรัลแลกซ์ (parallax) โดย

นักดาราศาสตร์หาระยะทางจากโลกถึงดวงดาวได้

จากมุมแพรัลแลกซ์ (มุม p ในภาพ 6) ซึ่งเป็น

ครึ่งหนึ่งของมุมในสามเหลี่ยมใหญ่

(ผู้ ที่สนใจสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ จาก

อินเทอร์เน็ตโดยใส่ค�

ำค้นว่า parallax)