

47
ปีที่ 43 ฉบับที่ 195 กรกฎาคม - สิงหาคม 2558
ปีที่ 43 ฉบับที่ 194 พฤษภ มิถุน ยนี
ที่ ั
บี่ ิ
ง
ในปัจจุบัน สังคมทั่วไปให้ความสนใจน้อยลงกับประเด็นที่
ว่าใครเก่งกว่ากันระหว่างผู้หญิงและผู้ชาย แต่ให้ความสนใจ
มากขึ้นเกี่ยวกับการสร้างความเท่าเทียมกันทางการศึกษา
ระหว่างผู้หญิงและผู้ชาย ซึ่งประเด็นนี้เป็นเป้าหมายส�
ำคัญ
อย่างหนึ่งของการศึกษาในโลกปัจจุบัน แต่ละประเทศจึงด�
ำเนิน
แนวทางต่าง ๆ เพื่อช่วยลดช่องว่างของความเหลื่อมล�้
ำทาง
การศึกษา เพื่อให้ทั้งผู้หญิงและผู้ชายมีโอกาสในการเรียนรู้
เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนอย่างเท่าเทียม และสามารถเป็นก�
ำลัง
ส�
ำคัญในการพัฒนาสังคมไปด้วยกัน
เมื่อเดือนมีนาคม 2015 องค์การเพื่อความร่วมมือและ
พัฒนาทางเศรษฐกิจ หรือ OECD (Organisation for Eco-
nomic Co-operation and Development) ได้น�
ำเสนอ
ประเด็นความเหลื่อมล�้
ำทางการศึกษาระหว่างนักเรียนหญิง
และนักเรียนชาย ที่สะท้อนจากผลการประเมิน PISA และเผยแพร่
ในเอกสาร PISA in Focus* ฉบับที่ 49 ข้อมูลดังกล่าวมี
ความน่าสนใจและสามารถน�
ำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
ได้อย่างไรบ้างนั้น มาติดตามกัน
* PISA in Focus เป็นบทความวิชาการเกี่ยวกับผลการประเมินโครงการ PISA ที่น่าสนใจ เผยแพร่ทางเว็บไซต์ของ OECD
ความแตกต่างของผลการประเมิน PISA ระหว่าง
นักเรียนหญิงและนักเรียนชาย
ผลการส�
ำรวจของ OECD พบว่า ช่องว่างของความ
เหลื่อมล�้
ำทางการศึกษาก�
ำลังลดน้อยลง อย่างไรก็ตาม ข้อมูลชี้ว่า
เด็กผู้ชายมีโอกาสเข้าเรียนในโรงเรียนน้อยกว่า และมีทักษะ
และผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาด้อยกว่าเด็กผู้หญิงอย่างมีนัย
ส�
ำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ อัตราการลาออกจากโรงเรียนกลางคัน
โดยไม่ได้รับวุฒิการศึกษาของนักเรียนชาย ยังมีอัตราสูงอีกด้วย
อย่างไรก็ตาม แม้ว่าผู้หญิงจะมีโอกาสเข้าเรียนในโรงเรียน
มากกว่า โดยเฉพาะในระดับอุดมศึกษาที่มีสัดส่วนของผู้หญิง
ที่เข้าเรียนสูงกว่าผู้ชายมาก แต่กลับพบว่า มีผู้หญิงจ�
ำนวนน้อย
ที่สมัครเข้าเรียนในสายวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์กายภาพ
คอมพิวเตอร์ และวิศวกรรม ในขณะที่ผู้ชายจะเลือกเรียนใน
สายวิชาดังกล่าวเป็นจ�
ำนวนมากกว่า
จากผลการประเมินของโครงการประเมินผลนักเรียน
ร่วมกับนานาชาติ หรือ PISA (Programme for International
Student Assessment) ที่ผ่านมาสะท้อนว่า โดยภาพรวมแล้ว
นักเรียนชายในวัย 15 ปี มีผลการประเมินต�่
ำกว่านักเรียนหญิง
ในวัยเดียวกัน ผลการประเมิน PISA 2012 พบว่า นักเรียนกลุ่ม
ต�่
ำที่มีสมรรถนะไม่ถึงระดับพื้นฐานของ PISA ในทั้งสามวิชา
ได้แก่ การอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เป็นนักเรียนชาย
14% และเป็นนักเรียนหญิง 9% และในประเทศโดยส่วนใหญ่
นักเรียนกลุ่มต�่
ำเป็นนักเรียนชายในสัดส่วนที่มากกว่า (ดังแสดง
ในกราฟที่ 1) ส�
ำหรับประเทศไทย นักเรียนกลุ่มต�่
ำ เป็นนักเรียน
ชาย 32.2% และเป็นนักเรียนหญิง 15.6%
การมีผลสัมฤทธิ์ที่ต�่
ำของนักเรียนชาย
ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามนักเรียนใน PISA 2012
ท�
ำให้สันนิษฐานได้ว่า การที่นักเรียนชายมี
ผลการประเมินต�่
ำ
กว่านักเรียนหญิง อาจมาจากการมีพฤติกรรมที่แตกต่างกันระหว่าง
นักเรียนหญิงและนักเรียนชาย เช่น
1) นักเรียนชายใช้เวลาในการท�
ำการบ้านน้อยกว่านักเรียนหญิง
ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ โดยผลการวิจัยพบว่า เวลาที่ใช้
ในการท�
ำการบ้านมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับผลการประเมินของ
นักเรียน เมื่อนักเรียนใช้เวลาในการท�
ำการบ้านเพิ่มขึ้น 1 ชั่วโมง
จะท�
ำให้ได้คะแนนวิชาการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
เพิ่มขึ้น 4 คะแนน และ
2) ภายหลังเลิกเรียน นักเรียนชายใช้เวลาในการเล่นวีดิโอเกม
มากกว่า แต่ใช้เวลาในการอ่านเพื่อความบันเทิงน้อยกว่านักเรียน
หญิง ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่า สมรรถนะการอ่านนั้นเป็นพื้นฐาน
ส�
ำคัญของการเรียนรู้เรื่องต่าง ๆ ดังนั้นเมื่อนักเรียนชายไม่ได้ใช้
เวลาในการอ่านมากนัก จึงใช้สมรรถนะการอ่านในวิชาต่าง ๆ
ในโรงเรียนได้ไม่ดีตามไปด้วย
การขาดความมั่นใจในตัวเองของนักเรียนหญิง
ประเทศ/เขตเศรษฐกิจที่เข้าร่วมโครงการใน PISA 2012
โดยส่วนใหญ่ พบว่า ในกลุ่มนักเรียนที่มี
ผลการประเมินสูง
นักเรียนชายจะท�
ำคะแนนวิชาคณิตศาสตร์ได้ดีกว่านักเรียนหญิง
โดยทั่วไปแล้ว นักเรียนหญิงจะมีความเชื่อมั่นในตัวเองเกี่ยวกับ
ความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์
น้อยกว่านักเรียนชาย และมีความวิตกกังวลในวิชาคณิตศาสตร์
สูงกว่านักเรียนชายด้วย แต่เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลของกลุ่มนักเรียนทั้ง
ชายและหญิงที่มีผลการประเมินสูง และมีความเชื่อมั่นใน
ความสามารถทางคณิตศาสตร์ของตนเองและมีความวิตก
กังวลในวิชาคณิตศาสตร์ที่ใกล้เคียงกัน พบว่า ความแตกต่าง
ของคะแนนคณิตศาสตร์ระหว่างนักเรียนชายและนักเรียน
หญิงในประเทศต่าง ๆ จะมีน้อยลง เช่น ในเกาหลี ฮ่องกง-
จีน และญี่ปุ่น ที่ความแตกต่างของคะแนนจะน้อยลงมากกว่า
10 คะแนน หรือในเซี่ยงไฮ้-จีน มาเก๊า-จีน และจีนไทเป ที่
เมื่อนักเรียนชายและนักเรียนหญิงมีความเชื่อมั่นเท่ ากัน
คะแนนคณิตศาสตร์ของนักเรียนหญิงกลับมีค่าสูงกว่านักเรียน
ชาย (ดังแสดงในกราฟที่ 2) อย่างไรก็ตาม ส�
ำหรับประเทศไทย
เป็นเพียงประเทศเดียวที่นักเรียนหญิงมีคะแนนคณิตศาสตร์
สูงกว่านักเรียนชาย ทั้งในช่วงก่อนและหลังจากวิเคราะห์ร่วมกับ
ค ว า ม เชื่ อมั่น ใ นค ว า มส า ม า ร ถท า ง คณิตศ า สต ร์ ข อ ง
ตัวนักเรียน