Previous Page  48 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 48 / 62 Next Page
Page Background

นิตยสาร สสวท.

48ิ

ผลการวิจัยของ PISA ยังชี้ว่า นักเรียนหญิงมีแนวโน้มที่จะท�

ำงานเกี่ยวกับการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์

ที่มีความคล้ายคลึงกับงานที่เคยท�

ำในโรงเรียนได้ดีกว่านักเรียนชาย แต่เมื่อต้องท�

ำงานที่ต้องใช้ความรู้ความคิดให้เหมือนนักวิทยาศาสตร์

เช่น แปลงสถานการณ์ปัญหาให้อยู่ในรูปของภาษาทางคณิตศาสตร์ ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาอธิบายสถานการณ์ปัญหา อธิบายหรือ

แปลความหมายปรากฏการณ์เชิงวิทยาศาสตร์ และพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงในเชิงวิทยาศาสตร์ ผลการวิจัยกลับพบว่านักเรียน

หญิงท�

ำผลงานได้ไม่ดีนักเมื่อเทียบกับนักเรียนชาย ทั้งนี้ การมีความสามารถในการคิดอย่างนักวิทยาศาสตร์ อาจเกี่ยวข้องกับความมั่นใจ

ในตัวเองของนักเรียนด้วย ดังนั้น เมื่อนักเรียนมีความมั่นใจในตัวเองมากขึ้น ก็จะไม่กังวลกับความล้มเหลวในการท�

ำงานและกล้า

ที่จะลองผิดลองถูก ซึ่งกระบวนการนี้ เป็นพื้นฐานส�

ำคัญของการเกิดความรู้ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์

กราฟที่ 1

แสดงร้อยละของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงที่มีสมรรถนะต�่

ำกว่าระดับ 2 (ระดับพื้นฐาน) ในด้านการอ่าน

คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ของ PISA 2012

หมายเหตุ :

1) แถบกราฟสีเข้ม (สีเทาเข้มและสีแดง) แสดงถึงความแตกต่างระหว่างร้อยละของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงที่มีนัยส�

ำคัญ

ทางสถิติ

2) ล�

ำดับของประเทศ/เขตเศรษฐกิจถูกเรียงล�

ำดับตามร้อยละของนักเรียนชายที่มีสมรรถนะในกลุ่มต�่

ำ (มีสมรรถนะไม่ถึงระดับพื้นฐาน

ของ PISA) ในด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ โดยเรียงจากมากไปน้อย

ที่มาของข้อมูล : OECD, PISA 2012 Database

ร้อยละของนักเรียน

นักเรียนหญิง

นักเรียนชาย