

31
ปีที่ 44 ฉบับที่ 201 กรกฎาคม - สิงหาคม 2559
ตัวอย่างที่ 1
ครูให้สถานการณ์เป็นแผนที่ แล้วให้นักเรียนเขียนรหัสค�ำสั่ง ดังนี้
สถานการณ์
นักเรียนช่วยหุ่นยนต์ตามหาเพชร โดยเขียนรหัสค�ำสั่งเรียงต่อกันตามล�ำดับการสั่งงาน
ตัวอย่างที่ 2
ครูให้สัญลักษณ์ซึ่งเป็นรหัสค�ำสั่ง แล้วให้นักเรียนใส่ค�ำสั่งแต่ละค�ำสั่งลงในแผนที่ตาม
ต�ำแหน่งที่หุ่นยนต์อยู่ในขณะนั้น โดยในแผนที่จะมีต�ำแหน่งเริ่มต้นของหุ่นยนต์ ดังรูป
สถานการณ์
นักเรียนช่วยหุ่นยนต์ตามหาเพชร โดยท�ำตามรหัสค�ำสั่งต่อไปนี้
จากตัวอย่างที่ 2 ครูอาจถามเพิ่มเติม
เรื่องจ�ำนวนเพชรและต�ำแหน่งที่เพชรอยู่ นอกจากนี้
จะเห็นว่ามีบางค�ำสั่งที่ท�ำงานซ�้ำกัน ซึ่งครูอาจ
ก�ำหนดสัญลักษณ์ ( ) แทนการวนซ�้ำ เช่น
(3)
หมายถึง การเดินไปทางขวา 3 ครั้ง
รหัสค�ำสั่ง
มีดังนี้
เดินไปทางขวา 1 หน่วย
เดินไปทางซ้าย 1 หน่วย
เดินขึ้นบน 1 หน่วย
เดินลงล่าง 1 หน่วย
เก็บเพชร ณ ต�ำแหน่งปัจจุบัน
รหัสค�ำสั่ง
มีดังนี้
เดินไปทางขวา 1 หน่วย
เดินไปทางซ้าย 1 หน่วย
เดินขึ้นบน 1 หน่วย
เดินลงล่าง 1 หน่วย
เก็บเพชร ณ ต�ำแหน่งปัจจุบัน
แนวค�ำตอบ
หรือ
แนวค�ำตอบ
แผนที่
แผนที่
รหัสค�ำสั่ง