

44
นิตยสาร สสวท
บรรณานุกรม
Giesbrecht, D., Wu, C. Q. and Sepehri, N. (2012). Design and Optimization of An Eight-Bar Legged Walking Mechanism
Imitating A Kinetic Sculpture. Wind Beast.
Transactions of the Canadian Society for Mechanical Engineering.
(4), 35-44.
Kazumma Komoda and Hiroaki Wagatsuma. (December, 2011). A study of availability and extensibility of Theo Jansen
mechanism towards climbing over bumps.
The 21
st
Annual Conference of the Japanese Neural Network Society.
Patnaik, S. (July 2015). Analysis of Theo Jansen Mechanism (Strandbeest) And Its Comparative Advantages Over
Wheel Based Mine Excavation System.
IOSR Journal of Engineering (IOSRJEN).
5
(7), 15-20.
การออกแบบหุ่นยนต์. สืบค้นเมื่อ 18 มกราคม 2559, จาก
https://th.wikibooks.org/wiki/การออกแบบหุ่นยนต์.การออกแบบหุ่นยนต์. สืบค้นเมื่อ 19 มกราคม 2559, จาก
http://www.semi-shop.com/robot/robot.php.การออกแบบหุ่นยนต์. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2559, จาก
http://www.most.go.th/main/index.php/flagship/110-nia/ 1458-2010-03-05-04-01-20.html.การออกแบบหุ่นยนต์. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2559, จาก
https://www.youtube.com/watch?v=55SmT6p2hcg.การออกแบบหุ่นยนต์. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2559, จาก
https://www.youtube.com/watch?v=MYGJ9jrbpvg.ภาณุพงษ์ ปัตติสิงห์. (2540).
คู่มือการใช้โปรแกรม AutoCAD release14
. กรุงเทพมหานคร: ส�ำนักพิมพ์ดอกหญ้า.
ภาณุพงษ์ ปัตติสิงห์. (2543).
คู่มือการใช้โปรแกรม AutoCAD2000
. กรุงเทพมหานคร: สตาร์คอม.
สื่อการเรียนการสอนที่สร้างขึ้นนี้เป็นผลลัพธ์จาก
การบูรณาการ โดยการใช้โปรแกรม Geometer's Sketchpad,
ProDESKTOP, AutoCAD และ CNC Laser Cut Machine
ส�ำหรับสร้าง Walking Robot Mechanism เป็นพื้นฐานการ
สร้างหุ่นยนต์อย่างง่ายที่น่าสนใจและสามารถสร้างได้ภายใน
ระยะเวลาไม่นาน อีกทั้งสามารถน�ำหลักการดังกล่าวไปปรับใช้
ในการผลิตและพัฒนาหุ่นยนต์หรือสื่อการสอนลักษณะอื่นๆได้
Walking Robot Mechanism สามารถใช้เป็น
สื่อการเรียนการสอนตามแนวทางของสะเต็มศึกษาใน
รูปแบบกิจกรรมสะเต็มศึกษาได้ โดยฝึกให้ผู้เรียนสามารถ
คิดวิเคราะห์เชิงวิศวกรรม ในด้านการออกแบบโครงสร้าง
ในส่ วนที่เ กี่ยวข้ องกับคณิตศาสตร์ โดยใช้ โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ ส�ำหรับออกแบบ เขียนแบบชิ้นส่วนที่มีรูปทรง
สามเหลี่ยม ส่วนขา วงกลม หรือ เฟือง แล้วใช้หลักการทาง
วิทยาศาสตร์ด้านฟิสิกส์ที่เกี่ยวข้องเรื่องแรงและการเคลื่อนที่
พลังงานกล และระบบกลไกกับความสมดุลในการทรงตัว
ของหุ่นยนต์ ในด้านเทคโนโลยีที่อยู่ในสมองกลของหุ่นยนต์
สมัยใหม่ที่มีความซับซ้อน จ�ำเป็นต้องมีการเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์เพื่อควบคุมการท�ำงานของระบบภายใน เช่น
ระบบสั่งการเพื่อควบคุมการเคลื่อนที่ การหมุนรอบตัวเอง
การพูดคุยตอบโต้กับมนุษย์ การรับค�ำสั่งด้วยเสียง ท่าทาง
หรือการสั่งการด้วยแสง เป็นต้น สิ่งต่างๆ เหล่านี้ต้องอาศัย
หลักการทางโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผสมกับเทคโนโลยี
สมัยใหม่ เพื่อเป็ นส่ วนหนึ่งในการสร้ างหุ่ นยนต์ ให้ มี
ประสิทธิภาพตามที่ผู้ออกแบบต้องการ เพื่อตอบสนองตาม
วัตถุประสงค์ของการสร้างหุ่นยนต์นั้นๆ
