

24
นิตยสาร สสวท
ภาพ 5
กราฟของฟังก์ชัน
f
เมื่อ
0 2
x
π
≤ ≤
จากกราฟ จะเห็นว่า ในวันแรม 15 ค�่ำ
(
)
0
x
=
ร้อยละของส่วนสว่างของดวงจันทร์ที่สามารถมองเห็นได้ เป็น 0
ซึ่งเป็นจุดต�่ำสุดของกราฟ ในวันขึ้น 8 ค�่ำ
2
x
π
=
และวันแรม 8 ค�่ำ
3
2
x
π
=
ร้อยละของส่วนสว่างของดวงจันทร์ที่
สามารถมองเห็นได้ เป็น 50 และในวันขึ้น 15 ค�่ำ
(
)
x
π
=
ร้อยละของส่วนสว่างของดวงจันทร์ที่สามารถมองเห็นได้ เป็น
100 ซึ่งเป็นจุดสูงสุดของกราฟ
ฟังก์ชัน
f
ช่วยให้เราสามารถค�ำนวณหาร้อยละของส่วนสว่างของดวงจันทร์ที่สามารถมองเห็นได้ เมื่อเราทราบ
ต�ำแหน่งของดวงจันทร์ในวันนั้น และในทางกลับกัน เราสามารถค�ำนวณหาต�ำแหน่งของดวงจันทร์ ถ้าเราทราบร้อยละของ
ส่วนสว่างของดวงจันทร์ที่สามารถมองเห็นได้จาก
(
)
arccos 1
50
f x
x
=
−
เช่น ในวันที่ร้อยละของส่วนสว่างของดวงจันทร์
ที่สามารถมองเห็นได้เป็น 25 จะได้ว่า วันนั้นดวงจันทร์อยู่ในต�ำแหน่งที่มุม
x
เท่ากับ
1 arccos
2
เมื่อพิจารณา
[
]
0, 2
x
π
∈
จะได้
3
x
π
=
(ในวันข้างขึ้น) หรือ
5
3
x
π
=
(ในวันข้างแรม)
พิจารณาฟังก์ชัน
f
เมื่อ
0 2
x
π
≤ ≤
จะสามารถเขียนกราฟได้ดังนี้
การน�ำฟังก์ชันตรีโกณมิติมาอธิบายปรากฏการณ์ข้างขึ้นข้างแรมดังที่ได้แสดงข้างต้นนอกจากจะช่วยให้ผู้เรียน
สามารถเข้าใจปรากฏการณ์ดังกล่าวได้ดีขึ้นแล้ว ยังจะท�ำให้ผู้เรียนเห็นประโยชน์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติ และเห็นความเชื่อมโยง
ของคณิตศาสตร์กับชีวิตจริง ซึ่งจะช่วยให้การเรียนในชั้นเรียนน่าสนใจและไม่น่าเบื่อด้วย
นอกจากนี้ ฟังก์ชันตรีโกณมิติยังสามารถน�ำไปใช้ในการศึกษาเรื่องอื่นๆ ได้อีกมาก เช่น ใช้ในการศึกษาเรื่องคลื่น
เสียงและคลื่นแสงในวิชาฟิสิกส์ ใช้คาดการณ์อุณหภูมิในฤดูกาลต่างๆ ในวิชาอุตุนิยมวิทยา เป็นต้น หากผู้สอนสามารถแสดง
ให้เห็นความเชื่อมโยงของคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และชีวิตจริงได้ ดังตัวอย่างในบทความนี้ จะช่วยให้ผู้เรียนเห็นประโยชน์
ของคณิตศาสตร์ ซึ่งเป็นพื้นฐานส�ำคัญในการศึกษาศาสตร์อื่นๆ ตลอดจนการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สิ่งเหล่านี้
จะช่วยจุดประกายความคิดของผู้เรียน และเป็นแรงบันดาลใจในการเรียนคณิตศาสตร์ให้แก่ผู้เรียนที่จะเติบโตเป็นก�ำลังส�ำคัญ
ในการพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต
บรรณานุกรม
Frosty Drew Observatory & Sky Theatre. (
October 1999). Phases of the Moon
. Retrieved November 12, 2017,
from
https://frostydrew.org/observatory/columns/1999/oct.htm.สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554).
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554).
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค.
ลาดพร้าว.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2559).
หนังสือรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์ เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4–6 กลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.