

19
ปีที่ 46 ฉบับที่ 211 มีนาคม - เมษายน 2561
การมุ่งเน้นพัฒนาอย่างยั่งยืน
1. สายพันธุ์
2. พื้นที่คุ้มครองเพื่อรักษาระบบนิเวศ
3. ระบบนิเวศบริเวณชายฝั่งและทางทะเล
4. ป่าไม้
สถานะของความหลากหลายทางชีวภาพ
และระบบนิเวศในทวีปเอเชีย
1.
หลายประเทศเริ่มมีโครงการมุ่งเน้นพัฒนาประเทศ
ตนเองอย่างยั่งยืน เช่น เศรษฐกิจพอเพียงใน
ประเทศไทย การสร้างสังคมคาร์บอนต�่ำในประเทศ
ญี่ปุ่น
2.
ประเทศในทวีปเอเชียเริ่มมีความพยายามจะผลิต
พลังงานทดแทน โดยเฉพาะประเทศจีน ซึ่งเป็น
ประเทศที่มีการลงทุนมหาศาลในการสร้างพลังงาน
หมุนเวียน
3.
การตระหนักถึงความส�ำคัญของการอนุรักษ์ระบบ
นิเวศขนาดใหญ่ เช่น Coral Triangle ซึ่งเป็นบริเวณ
ที่ตั้งอยู่ระหว่างพรมแดนของประเทศฟิลิปปินส์
- อินโดนีเซีย – มาเลเซีย เป็นแหล่งที่มีความ
หลากหลายทางชีวภาพสูง Kanchenjunga เป็น
เขตอนุรักษ์ที่ตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัย ประเทศ
เนปาล เป็นพื้นที่ที่ประกอบด้วยพื้นที่เพาะปลูก
ป่า ทุ่งหญ้า แม่น�้ำ ทะเลสาบที่สูง และธารน�้ำแข็ง
รวมถึงสัตว์หายาก เช่น แพนด้าสีแดง หมีด�ำเอเชีย
แมวเสือดาว และไก่หิมะ เป็นต้น
1.1
พื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงในภูมิภาค
เอเชียแปซิฟิก ได้แก่ ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศพม่า
เทือกเขาหิมาลัยตะวันออก (ประเทศเนปาล) เทือกเขา
ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน ประเทศฟิลิปปินส์
และประเทศศรีลังกา
1.2
สิ่งมีชีวิตกว่า 65,500 ชนิดที่ขึ้นบัญชีแดงของสหภาพ
เพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN red list of threatened
species) ที่ถูกคุกคามจนก�ำลังจะเกิดการสูญพันธุ์
พื้นที่คุ้มครองเพื่อรักษาระบบนิเวศในภูมิภาค
เอเชียแปซิฟิกมีพื้นที่รวม 10,900 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น
13.9 % ของพื้นที่ภาคพื้นดิน และ 1.8 % ของพื้นที่ทางทะเล
ในช่วง 40 ปีที่ผ่านมา พื้นที่แนวปะการังและพื้นที่
ป่าชายเลนได้สูญหายไปประมาณ 40 % ส่งผลให้มีปริมาณ
การจับปลาลดลง
ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกมีพื้นที่ป่าประมาณ 17 % ของ
พื้นที่ป่าทั้งโลก การตัดไม้ท�ำลายป่าในบริเวณเขตร้อนของโลก
เช่น ป่าดิบชื้นหรือป่าฝนเขตร้อน (ป่าไม่ผลัดใบ) อาจจะท�ำให้
เกิดการสูญเสียสิ่งมีชีวิตกว่า 100 ชนิด/วัน