

20
นิตยสาร สสวท
5. แหล่งน�้ำและพื้นที่ชุ่มน�้ำ
กลยุทธ์ขององค์กรระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN)
ในการน�ำมาใช้กับภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกมีแหล่งน�้ำจืดประมาณ 35 %
ของแหล่งน�้ำจืดทั่วโลก โดยมีสัดส่วนระหว่างประชากรกับ
การบริโภคน�้ำร่วมกัน ประมาณ 23 % : 4.5 % นอกจากนี้ พื้นที่
ชุ่มน�้ำประมาณ 50 % ได้สูญหายไปในศตวรรษที่ผ่านมาด้วย
1.
ปรับปรุงประสิทธิภาพของการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองเพื่อรักษาระบบนิเวศในภูมิภาค
2.
ลดการค้าสัตว์ป่าที่ไม่ได้รับอนุญาต และไม่เป็นไปตามกฎระเบียบ รวมถึงพันธุ์ไม้ทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก
3.
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนในการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
4.
จัดท�ำแผนการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างครอบคลุม
5.
สนับสนุนมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมระดับชาติเพื่อรองรับการพัฒนาโครงการขนาดใหญ่
การเพิ่มจ�ำนวนประชากรอย่างรวดเร็ว ประกอบกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจและความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ท�ำให้มีการน�ำทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทั้งทางด้านปริมาณและคุณภาพ มาใช้เพื่อตอบสนองต่อความต้องการ
ของมนุษย์ในการด�ำรงชีวิต จนเกินความสามารถที่ทรัพยากรต่างๆ จะรองรับได้ เป็นสาเหตุที่ท�ำให้ระบบนิเวศเสียสมดุลของ
สภาพภูมิอากาศ เกิดการเปลี่ยนแปลง ป่าไม้เสื่อมโทรม จนไม่สามารถเอื้อประโยชน์ต่อมนุษย์หรือสิ่งมีชีวิตอื่นได้เหมือนเดิม
ดังนั้นจึงต้องหาวิธีการที่จะรักษาและป้องกันสิ่งแวดล้อมที่มีในปัจจุบัน ตลอดจนสิ่งแวดล้อมในอนาคต การสร้างความตระหนัก
และการมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมระดับท้องถิ่น ระดับชาติ ตลอดจนถึงระดับ
นานาชาติ ในการช่วยกันเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม จนน�ำไปสู่การพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
เพื่อให้คงไว้ส�ำหรับการใช้ประโยชน์ได้อย่างยั่งยืนสืบไป
บรรณานุกรม
The 2
nd
Environment and Natural Resources International Conference (ENRIC). (2016).
Invention: Interdisciplinary Approaches to Save
Future Earth Environment
. เอกสารการประชุมวิชาการ.
The 2
nd
Environment and Natural Resources International Conference (ENRIC). (2016).
Invention: Interdisciplinary Approaches to Save
Future Earth Environment 2016
. Retrieved December 10, 2016, from
http://www.enricth.com.
Wang, Y. et al. (2016). Gravimetric analysis for PM
2.5
mass concentration based on year – round monitoring at an urban site in Beijing.
Journal of Environmental Sciences,
40, 154 – 160.