

16
นิตยสาร สสวท
กิจกรรมนี้สามารถปรับใช้กับผู้ร่วมกิจกรรมในหลายระดับ โดยการปรับระดับความยากของโจทย์ให้เหมาะสมกับ
ระดับความรู้ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ตัวอย่างโจทย์ที่กล่าวมาข้างต้นเป็นโจทย์ระดับง่าย ที่ผู้เรียนเศษส่วนของจ�ำนวนเต็มเบื้องต้น
สามารถแก้ปัญหาได้ หากครูพบว่านักเรียนมีระดับความรู้สูงขึ้นก็สามารถปรับโจทย์ให้ยากขึ้น โดยก�ำหนดให้ตัวส่วนมีค่า
เป็นจ�ำนวนเต็มที่มากขึ้น เช่น ให้นักเรียนจัดเค้กให้มีขนาด
9
40
ของทั้งก้อน ในตัวอย่างนี้ โจทย์จะยากเพราะค�ำตอบมีเพียง
ค�ำตอบเดียวคือ
1
10
+
1
8
หรือครูสามารถปรับโจทย์ให้ยากขึ้นโดยก�ำหนดให้มีเงื่อนไขบางอย่างเพิ่มขึ้น เช่น ให้นักเรียนจัดเค้ก
ให้มีขนาด
2
3
ของทั้งก้อน โดยห้ามใช้เค้กที่มีขนาด
1
3
ของทั้งก้อนเป็นส่วนประกอบในเค้กที่จัดนั้น ซึ่งการปรับโจทย์ในลักษณะ
ดังกล่าวนี้จะท�ำให้นักเรียนต้องแก้ปัญหาภายใต้ข้อจ�ำกัดที่มากขึ้น จึงต้องใช้ความคิดที่ซับซ้อนขึ้น
เค้กขนาด
9
40
ของทั้งก้อน =
+
เค้กขนาด 1
8 ของทั้งก้อน
เค้กขนาด 1
10 ของทั้งก้อน
จากการด�ำเนินกิจกรรมนี้ ผู้เขียนพบว่า การปรับโจทย์ให้เหมาะสมกับระดับความรู้ของนักเรียนมีความส�ำคัญ
เป็นอย่างมาก การสอบถามเกี่ยวกับระดับความรู้ของนักเรียนจึงเป็นสิ่งที่ควรปฏิบัติก่อนจะเริ่มกิจกรรม เพราะถ้าใช้โจทย์
ที่ซับซ้อนเกินความสามารถของนักเรียน นักเรียนจะไม่สามารถแก้โจทย์ได้ ท�ำให้การด�ำเนินกิจกรรมต้องใช้เวลานาน
และนักเรียนรู้สึกเบื่อหน่าย การเริ่มจากโจทย์ที่ง่ายในรอบแรกๆ จึงเป็นอีกวิธีที่ผู้เขียนใช้ในการแก้ปัญหานี้ ซึ่งนอกจาก
จะเป็นการตรวจสอบความรู้ของนักเรียนแล้ว ยังท�ำให้นักเรียนรู้จักปรับตัวให้คุ้นเคยกับกิจกรรมอีกด้วย
บรรณานุกรม
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555).
หนังสือรายเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค.
ลาดพร้าว.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2557).
หนังสือรายเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค.
ลาดพร้าว.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561).
หนังสือรายเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 1 ตามผลการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
ภาพ 7
ตัวอย่างการจัดเค้กให้มีขนาด
9
40
ของทั้งก้อน