

22
นิตยสาร สสวท.
3. ศัพท์เฉพาะที่แปลเป็นภาษาไทยแล้วเข้าใจยากกว่าค�
ำศัพท์เดิมที่เป็นภาษาอังกฤษ
ศัพท์เฉพาะทางคณิตศาสตร์จ�
ำนวนมากถูกน�
ำมาแปลให้เป็นภาษาไทย โดยหวังว่าจะท�
ำให้ผู้ที่สนใจเข้าใจคณิตศาสตร์ได้ง่ายขึ้น
ซึ่งก็เป็นจริงตามความต้องการนั้น แต่ยังมีบางค�
ำเมื่อแปลมาเป็นภาษาไทยแล้วกลับเข้าใจได้ยากกว่าศัพท์เดิมที่ยังไม่ได้แปล
ตัวอย่างเช่น
ภาษาอังกฤษ
ภาษาไทย
root
ราก / กรณฑ์
coefficient
สัมประสิทธิ์
statement
ประพจน์
expression
นิพจน์
หากพิจารณาค�
ำศัพท์จากตารางดังกล่าว จะเห็นได้ว่าสามารถคาดเดาความหมายในทางคณิตศาสตร์จากค�
ำศัพท์
ภาษาอังกฤษได้ง่ายกว่าคาดเดาจากค�
ำที่แปลเป็นภาษาไทย ท�
ำให้การเรียนรู้คณิตศาสตร์ในเรื่องที่มีศัพท์เหล่านี้ปรากฏอยู่
นักเรียนจะต้องจ�
ำค�
ำศัพท์ใหม่ที่ไม่มีความหมายในชีวิตจริงของเขา นอกจากการเรียนเนื้อหา ท�
ำให้มองเห็นว่าคณิตศาสตร์นั้นห่างไกล
จากความจริง ไม่เห็นคุณค่าของสิ่งที่เรียน
4. ศัพท์เฉพาะที่น�
ำมาใช้โดยการทับศัพท์
ศัพท์ทางคณิตศาสตร์หลายค�
ำไม่ได้ถูกแปลเป็นภาษาไทย แต่ใช้ทับศัพท์ไปเลย โดยแต่ละค�
ำเป็นศัพท์ที่ผู้ที่ใช้ภาษาอังกฤษ
เป็นหลักจะเข้าใจความหมายในเชิงคณิตศาสตร์ได้แทบจะทันที แม้ยังไม่ได้เรียนคณิตศาสตร์ในเรื่องนั้นก็ตาม แต่ในทางกลับกัน
เด็กไทยผู้ที่ไม่คุ้นเคยกับภาษาอังกฤษต้องอาศัยค�
ำอธิบายจากครูก่อนจึงจะเข้าใจ ทั้งนี้ยังขึ้นอยู่กับความสามารถในการอธิบาย
ของครูด้วย ตัวอย่างเช่น union, intersection, complement วิธีการหนึ่งที่จะท�
ำให้การสอนเรื่องที่มีการใช้ศัพท์เหล่านี้เป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพคือ การสอนความหมายของศัพท์ตามหลักทางภาษาศาสตร์ก่อนที่จะสอนนิยาม ทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนเข้าใจใน
ความหมายทั่วไปซึ่งใกล้ชิดกับชีวิตจริงก่อนการสอนสิ่งที่เป็นนามธรรมอย่างคณิตศาสตร์ เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง คงทน และมีความหมาย
5. ศัพท์เฉพาะที่มีใช้ในภาษาอังกฤษ แต่ไม่มี/ไม่นิยมใช้ในบริบทภาษาไทย
ในการเรียนคณิตศาสตร์ที่เป็นภาษาอังกฤษ บางเนื้อหาจะพบค�
ำศัพท์หลายค�
ำ ที่ไม่ปรากฏในการเรียนคณิตศาสตร์ที่เป็นภาษาไทย
ตัวอย่างเช่น เรื่องเศษส่วน จะพบค�
ำว่า quarter, half และ whole
สัญลักษณ์
ค�
ำอ่านภาษาไทย
ค�
ำอ่านภาษาอังกฤษ
เศษหนึ่งส่วนสี่
A quarter
หรือ One fourth
เศษหนึ่งส่วนสอง
หรือ ครึ่งหนึ่ง
A half
หรือ One second
1
หนึ่ง
A whole
หรือ One