

19
ปีที่ 42 ฉบับที่ 189 กรกฎาคม- สิงหาคม 2557
ปิโตรเลียมที่ได้จากแหล่งผลิตยังไม่สามารถน�
ำมาใช้ประโยชน์
ได้ทันที สารประกอบไฮโดรคาร์บอนแต่ละชนิดที่ได้จากปิโตรเลียม
มีสมบัติเหมาะสมต่อการน�
ำมาใช้ประโยชน์ต่างกัน จึงต้องมี
การแยกองค์ประกอบของไฮโดรคาร์บอนออกเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ
โดยการกลั่นน�้
ำมันดิบหรือการแยกก๊าซธรรมชาติ ผลิตภัณฑ์
จากปิโตรเลียมที่ได้จากกระบวนการกลั่นน�้
ำมันดิบและกระบวนการ
แยกก๊าซธรรมชาติมีอยู่มากมาย เช่น ใช้เป็นเชื้อเพลิงและน�้
ำมัน
หล่อลื่นและใช้เป็นวัตถุดิบตั้งต้นในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
และอื่น ๆ เป็นต้น
ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ได้มาจากปิโตรเลียม
จากภาพตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ได้มาจากปิโตรเลียม ล้วนเป็น
ผลิตภัณฑ์ที่เราได้ใช้ประโยชน์ไม่ทางตรงก็ทางอ้อม ทุก ๆ ผลิตภัณฑ์
ช่วยให้การด�
ำเนินชีวิตของเรามีความสะดวกสบาย แต่ปิโตรเลียม
เป็นเชื้อเพลิงซากดึกด�
ำบรรพ์ที่ใช้แล้วหมดไปและมีอยู่อย่างจ�
ำกัด
ต้องใช้เวลานานหลายร้อยล้านปีจึงจะเกิดขึ้นมาใหม่ได้อีก
และการส�
ำรวจและการผลิตเพื่อให้ได้มาซึ่งปิโตรเลียมต้องใช้
เงินลงทุนมหาศาล เราทุกคนจึงควรใช้เชื้อเพลิงดังกล่าวนี้อย่างรู้คุณค่า
และค�
ำนึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมในด้านต่าง ๆ
บรรณานุกรม
ราชบัณฑิตยสถาน. (2544).
พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา ฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน
. กรุงเทพมหานคร: อรุณการพิมพ์.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงศึกษาธิการ.
(2554).
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงเพื่อ
การคมนาคม ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.