

23
ปีที่ 42 ฉบับที่ 189 กรกฎาคม - สิงหาคม 2557
การอ่านเศษส่วนเหล่านี้โดยใช้ค�
ำว่า quarter, half และ
whole ท�
ำให้เด็กเกิดความรู้สึกเชิงจ�
ำนวนและเข้าใจเศษส่วน
ได้ดีกว่า เช่น
สัญลักษณ์
ความเข้าใจของเด็กไทย ความเข้าใจของเด็กฝรั่ง
Two quarters equal
to a half
Three halves equal to
a whole and a half
เศษส่วนเป็นสิ่งที่ยากส�
ำหรับเด็กไทย เรียนแล้วรู้สึกห่างไกล
จากการน�
ำไปใช้ในชีวิตจริง เพราะโดยพื้นฐานแล้วภาษาไทย
มีเพียงค�
ำเดียวที่กล่าวถึงเศษส่วน คือค�
ำว่า “ครึ่ง” การเรียนการสอน
จึงเป็นเพียงการสอนวิธีการท�
ำที่ไม่ท�
ำให้เกิดความรู้สึกเชิงจ�
ำนวน
ด้วยภาษาที่ใช้ไม่สามารถอธิบายเศษส่วนได้ดี จึงต้องอธิบาย
ด้วยสัญลักษณ์แทน แต่เด็กฝรั่งมีค�
ำว่า quarter, half และ
whole อยู่แล้ว จึงเกิดความรู้สึกเชิงจ�
ำนวนที่เกิดขึ้นจากภาษา
ที่ใช้เป็นประจ�
ำ จึงสามารถเข้าใจเศษส่วนได้อย่างไม่ยาก
6. ส�
ำนวนทางภาษาเกี่ยวกับปริมาณ
คณิตศาสตร์ถูกเขียนขึ้นด้วยความเข้าใจของผู้ที่ใช้ภาษาอังกฤษ
เป็นภาษาหลัก ซึ่งส�
ำนวนทางภาษาต่างจากภาษาไทย เช่น 3a
อ่านว่า สามเอ แต่ต้องแปลความหมายอีกครั้งคือ มีเอบวกกัน 3 ตัว
เนื่องจากค�
ำอ่านและความหมายเป็นคนละส�
ำนวนกัน ต่างจาก
ภาษาอังกฤษที่อ่านว่า “Three a(s)” และมีความหมายดังค�
ำอ่าน
ไม่ต้องตีความอีก
อีกตัวอย่างหนึ่งคือ 2a + 3a หากอ่านและท�
ำความเข้าใจ
เป็นภาษาอังกฤษ จะอ่านได้ว่า“Two a(s) and three a(s)”
ซึ่งได้ “five a(s)” และเขียนเป็น “5a” ได้ทันทีซึ่งเป็น common
sense สุด ๆ แต่หากอ่านและท�
ำความเข้าใจเป็นภาษาไทย จะ
อ่านได้ว่า “สองเอ บวก สามเอ” หากยังไม่เข้าใจส�
ำนวนภาษา
อังกฤษต้องแปลความหมายอีกรอบ เป็น “เอสองตัว บวก เอ
อีกสามตัว” จึงจะบอกได้ว่ามี “เอห้าตัว” และต้องแปลความ
หมายเป็น “ห้าเอ” ก่อน จึงจะสามารถเขียน “5a” ได้
เด็กฝรั่งเข้าใจเอกนาม พหุนาม และเนื้อหาที่เป็นนามธรรม
ต่าง ๆ ได้ดีกว่า เพราะค�
ำอ่านและความหมายคือสิ่งเดียวกัน จึง
สามารถเข้าใจได้ทันทีที่อ่าน แต่เด็กไทยเข้าใจได้ยากกว่าเพราะ
อ่านแล้วไม่เข้าใจทันที ต้องแปลความหมายก่อน อ่านแล้วรู้สึก
ถึงความเป็นนามธรรมมากกว่าที่จะเข้าใจ ผู้ที่ใช้ภาษาอังกฤษ
เป็นภาษาหลักจึงเกิดความรู้สึกเชิงจ�
ำนวนได้ง่ายกว่า ทั้งนี้ด้วย
ลักษณะทางภาษาที่เอื้อต่อการเกิดความรู้สึกเชิงจ�
ำนวนนั่นเอง
ผู้เขียนไม่ได้ต้องการบอกว่าภาษาอังกฤษดีกว่าภาษาไทย
แต่ก�
ำลังจะบอกว่าภาษาอังกฤษเหมาะกับการเรียคณิตศาสตร์
มากกว่า เพราะคณิตศาสตร์ที่ใช้ในบ้านเราถูกเขียนขึ้นมาด้วย
ผู้ใช้ภาษาอังกฤษ ซึ่งเมื่อแปลมาเป็นภาษาไทยจะมีบางอย่างที่
ท�
ำให้เด็กไทยเข้าใจคณิตศาสตร์ได้ยากกว่าและไม่เห็นว่าคณิตศาสตร์
ส�
ำคัญส�
ำหรับการด�
ำรงชีวิต ถึงเวลาแล้วหรือยังที่ห้องเรียน
คณิตศาสตร์ในโรงเรียนปกติจะสอดแทรกความรู้ทางคณิตศาสตร์
ที่เป็นภาษาอังกฤษแก่เด็ก ไม่ใช่เพียงแค่ห้องเรียนส�
ำหรับโปรแกรม
สองภาษา หรือโปรแกรมอินเตอร์เท่านั้น
บรรณานุกรม
Bennett, Albert, Burton, Laurie, & Nelson, Ted. (2011).
Mathe
matics for Elementary Teachers: a Conceptual Approach
(9th ed). New York: McGraw-Hill Education.
Brahier, Daniel J. (2012).
Teaching
Secondary and Middle
School Mathematics
(4th ed). New Jersey: Pearson Education.
Heddens, James W., & Speer, William R. (2001).
Today’s
Mathematics, Concepts and Classroom Methods
(12th ed).
Massachusetts: Wiley.
ก�
ำชัย ทองหล่อ. (2554).
หลักภาษาไทย
. กรุงเทพมหานคร: รวมสาสน์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2549).
ศัพท์คณิตศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.
กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน.
วิษณุ กอปรสิริพัฒน์. (2549).
การแปลตามหลักภาษาศาสตร์
. มหาสารคาม:
ส�
ำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงศึกษาธิการ. (2553).
หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค.
ลาดพร้าว.