Previous Page  31 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 31 / 62 Next Page
Page Background

31

ปีที่ 42 ฉบับที่ 190 กันยายน- ตุลาคม 2557

นักเรียนหลายคนค้นพบว่า เมื่อเขียน

รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสล้อมรอบวันที่สี่วัน ณ

ต�

ำแหน่งใด ๆ บนปฏิทิน ผลบวกของ

จ�

ำนวนสองจ�

ำนวนที่เป็นวันที่ซึ่งอยู่ในแนว

เส้นทแยงมุมแต่ละแนวของรูปสี่เหลี่ยม

จัตุรัสจะได้ว่า ผลบวกแต่ละคู่นี้มีค่าเท่ากัน

เช่น 9 + 17 = 10 +16, 18 + 26 = 19 + 25

ปฏิทินเดือนนี้ดีเห็นชัด

เขียนจัตุรัสล้อมวันที่สี่วันไหน

ตรงมุมทแยงลองรวมแยกน่าแปลกใจ

เอ๊ะท�

ำไมเท่ากันได้อธิบายเอย

นักเรียนคนอื่น ๆ ก็พบว่าปฏิทินเดือนเกิดของตนเอง ก็มีสมบัติ

เช่นเดียวกัน ผู้เขียนแนะน�

ำให้นักเรียนแสดงว่าเป็นจริงหรือไม่ในกรณี

ทั่วไป โดยสมมติให้ x แทนวันที่ ที่อยู่ในต�

ำแหน่งตรงมุมบนซ้ายมือ

ของกรอบที่ล้อมรอบวันที่สี่วัน นักเรียนสามารถเขียนแสดงวันที่อื่นใน

กรอบจัตุรัสนี้ได้ และอธิบายได้ว่า วันที่ทางขวาของ x เป็นวันที่ที่อยู่

ถัดไปอีก 1 วัน เขียนแทนได้ด้วย x + 1 วันที่ที่อยู่ติดกันข้างล่าง x

ในสดมภ์เดียวกันเป็นวันที่ที่อยู่ถัดไปอีก 7 วัน เขียนแทนได้ด้วย x + 7

และวันที่ถัดไปทางขวามืออีก 1 วัน เขียนแทนได้ด้วย x + 8

เมื่อหาผลบวกในแนวเส้นทแยงมุม จะได้ว่าผลบวกในแต่ละแนว

เท่ากับ 2x + 8 แสดงว่าผลบวกของจ�

ำนวนสองจ�

ำนวนที่เป็นวันที่ซึ่ง

อยู่ในแนวเส้นทแยงมุมแต่ละแนวของกรอบรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสแต่ละคู่

เท่ากันนอกจากนี้ยังพบว่าผลบวกของจ�

ำนวนที่แสดงด้วยวันที่ทั้งสี่ใน

กรอบเท่ากับ 4x + 16 = 4(x + 4) ผลบวกของจ�

ำนวนทั้งสี่เป็น 4

เท่าของผลบวกของจ�

ำนวนที่เป็นวันที่ที่อยู่ในกรอบตรงมุมบนซ้ายมือกับ4

ผู้เขียนให้นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3 – 4 คน ให้แต่ละกลุ่ม

เลือกปฏิทินเดือนเกิดของสมาชิกในกลุ่มคนใดคนหนึ่ง แล้วช่วยกัน

ค้นหาความน่าสนใจของวันที่ในปฏิทินนั้น พร้อมทั้งแสดงการอธิบาย

ให้เหตุผลประกอบว่าเป็นจริงหรือไม่ ในกรณีทั่วไป

ผู้เขียนให้นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3 – 4 คน ให้แต่ละกลุ่ม

เลือกปฏิทินเดือนเกิดของสมาชิกในกลุ่มคนใดคนหนึ่ง แล้วช่วยกัน

ค้นหาความน่าสนใจของวันที่ในปฏิทินนั้น พร้อมทั้งแสดงการอธิบาย

ให้เหตุผลประกอบว่าเป็นจริงหรือไม่ ในกรณีทั่วไป

ตัวอย่างผลงานของนักเรียน

ตามกลุ่มต่าง ๆ มีดังนี้

1. นักเรียนกลุ่มหนึ่งพบว่า แบบรูปของจ�

ำนวนแสดงวันที่ใน

แนวทแยงจากขวามือลงไปทางซ้ายมือ เพิ่มขึ้นครั้งละ 6 เช่น 3,

9, 15, 21 และจ�

ำนวนในชุดนั้นหารด้วย 3 ลงตัวทุกจ�

ำนวน และ

อีกชุดหนึ่ง 6, 12, 18, 24 ซึ่งทุกจ�

ำนวนหารด้วย 6 ลงตัว ส่วน

อีกกลุ่มหนึ่ง แสดงจ�

ำนวนที่เพิ่มขึ้นครั้งละ 6 ได้แก่ 1, 7, 13, 19

x x + 1

x + 7 x + 8

ปฏิทินเดือนเกิดของฉัน