Previous Page  35 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 35 / 62 Next Page
Page Background

35

ปีที่ 42 ฉบับที่ 190 กันยายน- ตุลาคม 2557

ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้ก็คือข้อมูลตั้งต้นนั่นเอง ทั้งนี้ หากไม่ทราบวิธี

การเข้ารหัสซึ่งเปรียบได้กับการล็อคกุญแจของ อลิซและบ็อบ

ก็จะไม่สามารถทราบข้อมูลตั้งต้นได้

จากตัวอย่าง จะเห็นได้ว่าการแปลงสถานการณ์จริงให้อยู่ใน

รูปข้อมูลเชิงคณิตศาสตร์ ท�

ำให้สามารถใช้เครื่องมือและทฤษฎีทาง

คณิตศาสตร์มาช่วยในการแก้ปัญหาได้ ซึ่งเป็นประโยชน์แก่การ

พัฒนาวิทยาการเข้ารหัสลับ เกื้อหนุนให้วิทยาการเข้ารหัสลับถูก

พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว

ตัวอย่างของวิทยาการเข้ารหัสลับในชีวิตประจ�

ำวันที่ใช้แพร่

หลายอีกอย่างหนึ่งคือ บัตรกดเงินสดหรือบัตรเอทีเอ็ม ซึ่งในตัว

บัตรจะมีไมโครชิปที่ใช้เก็บข้อมูลของผู้ถือบัตร โดยผู้ถือบัตรจะได้

รับรหัส PIN เป็นตัวเลขสี่หลักที่ถูกส่งให้แยกกับตัวบัตรพร้อม

ค�

ำแนะน�

ำว่าให้ผู้ถือบัตรจ�

ำรหัส PIN นี้ไว้ และระวังไม่ให้ผู้อื่น

ล่วงรู้ได้ เพราะแม้แต่ธนาคารที่ออกบัตรก็ไม่ทราบรหัส PIN ของลูกค้า

เนื่องจากรหัส PIN หรือ Personal Identification Number

ใช้ในการยืนยันความเป็นผู้ถือบัตร เมื่อเสียบบัตรเข้าไปในเครื่องรับ

จ่ายเงินอัตโนมัติหรือตู้เอทีเอ็มแต่ละครั้ง เครื่องจะขอให้ป้อนรหัส

PIN หากป้อนรหัสได้ถูกต้อง เครื่องจึงจะท�

ำงานต่อได้ ซึ่งสามารถ

อธิบายหลักการท�

ำงานของบัตร เอทีเอ็ม และรหัส PIN อย่างย่อ ได้ดังนี้

ภาพที่ 3 ตู้เอทีเอ็ม

(ที่มา:

http://www.infolanka.com/news/IL/1150.htm)

เมื่อเสียบบัตรเข้าไปในตู้เอทีเอ็ม ระบบของธนาคารจะถามค�

ำถามเพื่อ

ให้ยืนยันความเป็นผู้ถือบัตรที่แท้จริง โดยค�

ำถามจะแตกต่างกันในแต่ละครั้ง

และค�

ำถามเหล่านี้จะถูกสุ่มในรูปของตัวเลข จากนั้นไมโครชิปในตัวบัตร

จะท�

ำหน้าที่ค�

ำนวณโดยใช้ตัวเลขจากค�

ำถามที่ธนาคารส่งมาร่วมกับรหัส

PIN ที่ผู้ถือบัตรป้อนเข้าไป แล้วระบบจะส่งข้อมูลซึ่งคือผลลัพธ์ที่ได้จากการ

ค�

ำนวณกลับไปยังธนาคาร ซึ่งจากข้อมูลนี้เองจะท�

ำให้ธนาคารรู้ได้ว่าบุคคล

นั้นเป็นผู้ถือบัตรที่แท้จริงหรือไม่ โดยที่ธนาคารไม่จ�

ำเป็นต้องรู้รหัส PIN ของ

ผู้ถือบัตร ซึ่งการค�

ำนวณที่อยู่เบื้องหลังการท�

ำงานของบัตรเอทีเอ็มใช้

หลักการของเลขยกก�

ำลัง จ�

ำนวนเฉพาะ ความรู้ด้านพีชคณิต และทฤษฎี

จ�

ำนวนขั้นสูง