

สรุปว่าสีของวัตถุที่เราเห็นหรือรับรู้ ขึ้นกับสีและความเข้มของแสงที่อยู่ ณ บริเวณนั้น กล่าวคือ สีของวัตถุที่เรารับรู้เมื่ออยู่
ภายใต้แสงขาว (แสงแดด) ย่อมต่างจากสีของวัตถุที่เรารับรู้เมื่ออยู่ภายใต้แสงสีอื่น ๆ เช่น แสงสีเหลือง (แสงเทียนหรือแสงจากหลอดไฟ
ที่นิยมใช้ ในห้องจัดงานของโรงแรม) เนื่องจากความเข้มของแสงสีที่ตกกระทบวัตถุและสะท้อนเข้าตาเรามีค่าต่างกัน
ท่านสามารถน�
ำความรู้เรื่องนี้ไปใช้ในการเลือกสรรสิ่งต่าง ๆ ที่มีสีสันตรงความต้องการของท่าน ไม่เช่นนั้นท่านอาจจะต้องบอก
กับตัวเองว่า
“ท�
ำไมสีของสิ่งของที่ร้านตอนที่เลือกซื้อ ถึงไม่เป็นอย่างที่คิด เมื่อกลับมาบ้าน”
ค�
ำถามชวนคิด
ทราบหรือไม่ ท�
ำไมคนขายปลาคาร์ฟจึงเลือกใช้หลอดไฟที่ให้แสงสีน�้
ำเงินในบริเวณร้าน
เฉลย
สีของปลาคาร์ฟภายใต้แสงสีน�้
ำเงินจะดูเข้มกว่าสีของปลาคาร์ฟที่อยู่ภายใต้แสงปกติ เนื่องจากปริมาณแสง
สีแดงและแสงสีน�้
ำเงินที่ตกกระทบที่ตัวปลาแล้วสะท้อนเข้าตาเราได้ลดลง
บรรณานุกรม
Light. (2013, October 22). In
Wikipedia, The Free Encyclopedia.
Retrieved October 30, 2013, from http://
en.wikipedia.org/w/index.php?tittle=Light&oldid=578211282Nopparatjamjomras, S., Nopparatjamjomras, T. R., & Chitaree, R. (2011). Using hidden messages created by
Microsoft® Word to teach studentsabout colour filters.
Teaching Science: The journal of Australian Science
Teachers Association,57
(4), 49-50.
เรตินา. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2558, จาก
http://www.ramamental.com/psychiatrist/sensation-and-perception/ware/SSC231/Psychology/Chapter5/Ch5.pdf
เรตินา. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2558, จาก
http://th.wikipedia.org/wiki/เรตินา23
ปีที่ 44 ฉบับที่ 197 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2558