Previous Page  24 / 61 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 24 / 61 Next Page
Page Background

การเรียนรู้เรื่องการวัดในวิชาคณิตศาสตร์ นอกเหนือ

จากที่นักเรียนจะได้รู้จักกับหน่วยการวัดระบบต่าง ๆ ที่ใช้กัน

ทั้งในประเทศไทยและทั่วโลกแล้ว ทักษะส�

ำคัญอีกประการ

หนึ่งก็คือ นักเรียนควรสามารถเปลี่ยนหน่วยการวัดทั้งใน

ระบบเดียวกันและต่างระบบกันได้ เพื่อน�

ำไปใช้แก้ปัญหา

ต่าง ๆ ในชีวิตจริง และสามารถน�

ำความรู้เรื่องอัตราส่วน

มาประยุกต์ใช้ในการเปลี่ยนหน่วยการวัดต่าง ๆ

บทความนี้จะแสดงกรณีความผิดพลาดจาก

การเปลี่ยนหน่วยการวัดที่เคยเกิดขึ้นในชีวิตจริงจ�

ำนวน 5 กรณี

ที่ยังเป็นตัวอย่างที่กล่าวถึงกันอยู่เสมอ โดยเรียงตามล�

ำดับ

เวลาที่เกิดขึ้นดังต่อไปนี้

ความช�

ำชาญและความแม่นย�

ำในการใช้หน่วยการวัด

ต่าง ๆ ถือเป็นสิ่งส�

ำคัญ และเป็นทักษะพื้นฐานในการเรียนรู้ด้าน

วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ รวมทั้งเทคโนโลยีต่าง ๆ อย่าง

ไม่อาจละเลยได้ ซึ่งถึงแม้ว่าการใช้หน่วยการวัดให้ถูกต้อง

จะเป็นเรื่องส�

ำคัญ แต่ในอดีตกลับปรากฏว่ามีความผิดพลาด

อันใหญ่หลวงเกิดขึ้นเมื่อนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร และผู้ที่

ท�

ำงานด้านสาธารณสุขบางคนท�

ำงานเลินเล่อจนส่งผล

เสียหายในระดับไม่คาดฝันดังกรณีต่าง ๆ ที่จะกล่าวต่อไปใน

บทความนี้ กรณีเหล่านี้น่าจะเป็นอุทาหรณ์ที่ดีที่จะช่วยเน้นย�้

ให้ผู้เรียนเห็นความส�

ำคัญของการค�

ำนวณหน่วยการวัดค่า

ต่าง ๆ ให้ถูกต้อง อีกทั้งยังเป็นตัวอย่างแสดงถึงธรรมชาติ

ของความผิดพลาดของมนุษย์ (human foible) ที่แม้ว่าจะ

ช่วยกันระมัดระวังและถี่ถ้วนกันสักเพียงใด ก็ยังสามารถ

ท�

ำงานบกพร่องกับความผิดพลาดเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่นนี้ได้

หายนะแห่งการเปลี่ยน

หน่วยการวัด กับกรณี

พิบัติในชีวิตจริง

ดร.อลงกต ใหม่ด้วง

นักวิชาการ สาขาคณิตศาสตร์ สสวท. / e-mail:

amaid@ipstac.th

1. สหรัฐฯ สะดุดหลักไมล์ในสงครามโลกครั้งที่สอง (ค.ศ. 1945)

ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อกองทัพสหรัฐอเมริกา

มีปฏิบัติการเข้ายึดพื้นที่เกาะเปเลลิวในมหาสมุทรแปซิฟิกจาก

กองทัพญี่ปุ่น จากรายงานการบุกเข้าเกาะเปเลลิวครั้งแรกใน

ช่วงเดือนกันยายน ค.ศ. 1941 พบว่าประสบความล้มเหลว

เนื่องจากกองทัพบกสหรัฐอเมริกาได้ก�

ำหนดหน่วยการบอก

ระยะทางของเครื่องเรดาร์เป็น ไมล์บก หรือ statute mile

(1 ไมล์บกเท่ากับ 1.609344 กิโลเมตร) ในขณะที่ฝ่ายนาวิกโยธิน

ของกองทัพสหรัฐอเมริการายงานตัวเลขที่ได้จากเครื่องเรดาร์

เหล่านี้ด้วยหน่วย ไมล์ทะเล หรือ nautical mile (1 ไมล์ทะเล

เท่ากับ 1.852 กิโลเมตร) การบอกต�

ำแหน่งของกองทัพบก

และกองทัพเรือของสหรัฐอเมริกาจึงไม่ตรงกัน จนประสบ

ความล้มเหลวในการบุกเข้ายึดเกาะเปเลลิวครั้งแรกไปในที่สุด

ปัจจุบันกองทัพสหรัฐอเมริกาได้หันมาใช้ระบบเมตริก

อันเป็นมาตรฐานสากลในการระบุหน่วยการวัดต่าง ๆ เพื่อ

ป้องกันความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้หน่วยระบบ

อังกฤษ โดยเฉพาะหน่วยความยาวไมล์บกและไมล์ทะเลที่สับสน

กันอยู่บ่อยครั้ง แม้ว่าทหารส่วนใหญ่จะยังคุ้นเคยกับหน่วย

การวัดระบบอังกฤษมากกว่า

รูปที่ 1: กองทัพสหรัฐอเมริกาเข้ายึดเกาะเปเลลิวหลัง

ความผิดพลาดในการรายงานหน่วยไมล์จากการเข้ายึดครั้งแรก

(ภาพจาก

https://en.wikipedia.org/wiki/Battle_of_Peleliu

)

นิตยสาร สสวท.

24