Table of Contents Table of Contents
Previous Page  22 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 22 / 62 Next Page
Page Background

22

นิตยสาร สสวท

บรรณานุกรม

Anderson, L.W. &Krathwohl, D.R. (Eds.) (2001).

ATaxonomy for Learning, Teaching, andAssessing: ARevision of Bloom's Taxonomy

of Educational Objectives

. New York: Longman.

Bloom, B.S., Engelhart, M.D., Furst, E.J., Hill, W.H., & Krathwohl, D.R. (Eds.)(1956).

Taxonomy of educational objectives:

the classification of educational goals

.

Handbook I: Cognitive Domain.

New York: McKay.

Daggett, W.R. (2014).

Rigor/Relevance Framework: A guide to focusing resources to increase student performance

,

International Centre for Leadership in Education. Retrieved May 16, 2016, from

http://www.leadered.com/pdf/ rigor_relevance_framework_2014.pdf

International Centre for Leadership in Education Inc. (2015).

The Rigor / Relevance Framework.

Retrieved May 16, 2016, from

http://www.leadered.com/our-philosophy/rigor-relevance-framework.php

Vasquez, J.A., & Comer M.W. (2015).

Advancing the vision for STEM teaching and learning.

ในการอบรมหลักสูตร Developing

Effective Master Core Trainers. (27-28 กรกฎาคม). กรุงเทพมหานคร: โรงแรมรอยัล เบญจา.

White, R.T., & Gunstone, R.F. (1992).

Probing Understanding

. Great Britain: Falmer Press.

การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการตามแนวทาง

สะเต็มศึกษาไม่ได้เป็นเพียงการสร้างหรือการประดิษฐ์สิ่งของ

ต่างๆ หรือมุ่งเน้นเพียงการแข่งขันเพื่อให้มีการแพ้หรือชนะ

กิจกรรมเหล่านี้ อาจเป็นเพียงการเล่นหรือการลองผิดลองถูก

ที่นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้น้อยและไม่สามารถเชื่อมโยง

ความรู้กับสิ่งที่ตัวเองสร้าง เมื่อขาดการใช้ความรู้มาเป็นฐาน

ในการคิด วิเคราะห์ และตัดสินใจ ก็จะท�ำให้การแก้ปัญหา

เป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ ท�ำให้ต้องมีการท�ำซ�้ำหลายครั้ง

จึงจะสามารถแก้ปัญหาได้ กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ

ตามแนวทางสะเต็มศึกษาที่ดี จึงต้องผ่านการออกแบบและ

ก�ำหนดวิธีการจัดการเรียนรู้เป็นอย่างดี เพื่อให้การเรียนรู้

ที่เกิดขึ้นมีความเข้มข้นทางวิชาการและนักเรียนสามารถ

เชื่อมโยงความรู้กับชีวิตจริงได้ ผู้ออกแบบกิจกรรมจึงต้อง

มีการก�ำหนดกรอบปัญหาอย่างละเอียดรอบคอบเพื่อใช้

เป็นตัวกระตุ้นให้นักเรียนใช้ความรู้และทักษะต่างๆ ในการ

แก้ปัญหา โดยต้องออกแบบและสร้างกิจกรรมการเรียนรู้

ที่เหมาะสมเพื่อให้นักเรียนได้สืบเสาะ สร้างองค์ความรู้

ท�ำกิจกรรมการทดสอบและแข่งขันเพื่อให้นักเรียนได้เห็นว่า

ความรู้ทางด้านสะเต็มมีความส�ำคัญที่ช่วยให้การตัดสินใจ

และการแก้ปัญหาได้ผลดียิ่งขึ้น

กิจกรรมนาวาฝ่าวิกฤตที่น�ำมาเป็นตัวอย่างกิจกรรม

สะเต็มในบทความนี้นั้น อาจมีข้อผิดพลาดและอาจมีแนวทาง

ที่ท�ำให้การเรียนรู้จากกิจกรรมนี้มีระดับความเข้มข้นทาง

วิชาการที่สูงขึ้นมากกว่านี้ได้ ทางผู้พัฒนากิจกรรมได้พยายาม

ปรับแก้เพื่อให้กิจกรรมนาวาฝ่าวิกฤตมีความสมบูรณ์และ

เหมาะสมกับนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มากที่สุด

เท่าที่จะเป็นไปได้ หลักการและวิธีการในการออกแบบ

กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการตามแนวทางสะเต็มศึกษา

ที่น�ำเสนอในบทความนี้ก็เช่นกันอาจจะยังไม่ครอบคลุม

หรืออาจมีวิธีการที่ดีและเหมาะกว่าที่น�ำเสนอในบทความนี้

หากท่านผู้อ่านมีข้อเสนอแนะใดๆ ผมในฐานะผู้ เขียน

บทความและผู้ร่วมออกแบบกิจกรรมนาวาฝ่าวิกฤตยินดี

รับฟังข้อคิดเห็นเพื่อน�ำไปปรับแก้ต่อไป และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า

ท่านผู้อ่านจะได้ลองน�ำแนวคิดที่เสนอในบทความนี้ไปปรับใช้

ในการออกแบบและพัฒนากิจกรรมสะเต็มเพื่อให้นักเรียนไทย

มีโอกาสได้รับความสุขควบคู่ไปกับการเรียนรู้จากกิจกรรมสะเต็ม

ดีๆ ต่อไป

บทสรุป

ที่มา:

http://www.vcharkarn.com/stem/504100