

24
นิตยสาร สสวท
ตัวอย่าง
จากการศึกษาคุณภาพของอากาศในกรุงเทพฯ
ก่อนจะออกมาแก้ไข พบว่ามีแก๊สคาร์บอนมอนนอกไซด์
โดยเฉลี่ย 9.4 ppm เพื่อจะตรวจสอบว่ามาตรการต่างๆ
จะช่วยลดปริมาณแก๊สคาร์บอนมอนนอกไซด์ได้จริงหรือไม่
นักวิจัยได้สุ่มอากาศในสถานที่ต่างๆทั่วกรุงเทพฯรวม18สถานที่
และวัดปริมาณแก๊สคาร์บอนมอนนอกไซด์ได้ดังนี้
8.6 , 6.4 , 7.2 , 10.5 , 8.7 , 10.7 , 5.4 , 5.7 , 3.9 , 4.5 , 3.6 ,
7.6 , 6.8 , 10.9 , 10.2 , 7.9 , 9.4 , 7.9
ที่ระดับนัยส�ำคัญ 0.05 มาตรการดังกล่าวได้ผลหรือไม่
1. สมมติฐาน
H
0
:
µ
= 9.4
H
1
:
µ
< 9.4
เมื่อ H
0
, H
1
และ
µ
คือ ?
• กรอกข้อมูลในสเปรดชีท
• เลือกเครื่องมือวิเคราะห์ตัวแปรเดียว
(One Variable Analysis) และท�ำการเลือก
วิเคราะห์ (Analysis)
• จากนั้นเลือกแสดงข้ อมูลสถิติ
จะเป็ นหน้ าต่ างแสดงผล ให้ เปลี่ยน
Statistics เป็น T-test of a Mean
จากตารางจะพบว่าค่าเฉลี่ยเท่ากับ
7.55 ค่า P = 0.0017 ค่า t = -3.3879 P, t คือ ?
เมื่อน�ำค่า P ไป เปรียบเทียบกับค่าระดับนัยส�ำคัญ
พบว่า ค่า P < 0.05 สมมุติฐานหลักจึงถูกปฏิเสธ
นั้นคือ มาตรการดังกล่าวช่วยลดปริมาณแก๊ส
คาร์บอนมอนนอกไซด์ได้จริงอย่างมีนัยส�ำคัญ
ทางสถิติที่ 0.05
2. วิเคราะห์ข้อมูล