

31
ปีที่ 44 ฉบับที่ 200 พฤษภาคม - มิถุนายน 2559
บรรณานุกรม
Kevin el. (2011).
EBooks as teaching strategy-preliminary investigation.
Retrieved Dec 4-7, 2011, from
http://www.leishman-associates.com.au/ascilite2011/downloads/papers/Wong-full.pdf
Putney, D.(2004).
Creating eBooks with Young Children
. Retrieved June 27, 2011, from
http://www.editlib.org/d/13230/proceeding_13230.pdf
กุสาวดี หัสแดง. (2556).
ก้าวใหม่ของ e-book ในยุคศตวรรษที่ 21
. สืบค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2556, จาก
http://kmlibrary.bu.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=164: -e-book--21&catid=16:2011-03-14-02-23-46&Itemid=28.
ครูสมาร์ทดอทคอม. (2557).
สสวท. ผลิตหนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์ E- bookวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ระดับชั้น ป.1-ม.6 ให้โรงเรียนใช้ฟรี.
สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2557, จาก
http://www.krusmart.com/ebooks-science-mathematic-for-school.พรชนกสวนบุรี. (2556).
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
. สืบค้นเมื่อ 9 มีนาคม 2556,
จาก
http://0503407-53010110033.blogspot.com.
สาขาวิจัย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2557).
การติดตามผลการใช้ผลผลิตของ สสวท. ปีการศึกษา 2557.
กรุงเทพมหานคร: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
ผลการสังเกตการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ e-book
ของ สสวท.
- เป็นการจัดการเรียนการสอนโดยให้นักเรียน
เป็นศูนย์กลาง นักเรียนศึกษาการทดลองโดยวิธีสาธิต
ในสื่อ e-book นักเรียนมีความเข้าใจในบทเรียนดีขึ้น
- ครูมีเวลาทดสอบความเข้าใจของนักเรียนระหว่าง
สาธิตการทดลองโดยใช้ e-book ประเมินจากใบบันทึก
กิจกรรมของนักเรียน
ข้อเสนอแนะ
- ทางโรงเรียนควรมีอุปกรณ์ที่พร้ อมใช้ เช่ น
ควรฉายวีดิทัศน์ผ่านโปรเจคเตอร์ เนื่องจากว่าถ้าใช้จอทีวี
ขนาดเล็กนักเรียนบางกลุ่มอาจไม่สามารถเห็นการทดลองได้
จึงต้องถามเพื่อนและครูตลอดเวลา
ภาพใน e-book แสดงการทดลองหน้า 74
ที่มา:
http://www.scimath.org/ebook/sci/p5/student/สรุปผลและข้อเสนอแนะจากการสังเกต
การทดลองใช้ e-book เพื่อการสอนวิชาวิทยาศาสตร์
จากการสังเกตการจัดการเรียนการสอนโดยใช้
สื่อ e-book ของครู ผู้เขียนพบว่าครูสามารถน�ำสื่อ e-book
ไปสอดแทรกในการจัดการเรียนการสอนได้หลายวิธี ทั้งนี้
ขึ้นอยู่กับหัวข้อที่ครูสอนว่าต้องการให้นักเรียนสามารถรับ
ประโยชน์สูงสุดได้อย่างไร และขึ้นกับระดับการเรียนรู้ของ
เด็กด้วย เช่น ถ้าเป็นเด็กชั้นประถมศึกษา ครูควรเป็นผู้ใช้
สื่อ e-book ด้วยตนเองก่อน แล้วให้เด็กศึกษาตามที่ครูสอน
โดยต้องมีอุปกรณ์และเครื่องมือที่สนับสนุนการใช้ e-book เพื่อ
ไม่ให้เป็นอุปสรรคต่อการเรียน เช่นเครื่องฉายโปรเจคเตอร์
อินเทอร์เน็ต ฯลฯ ส�ำหรับเด็กชั้นมัธยมศึกษา สามารถเรียนรู้
การใช้ e-book ด้วยตนเองตามที่ครูแนะน�ำ ซึ่งจะท�ำให้
การเรียนการสอนมีความสนุกสนาน และน่าสนใจ นักเรียน
จะมีความรู้ และความเข้าใจมากขึ้น เปิดโลกทัศน์ให้กว้าง
ยิ่งกว่าเดิม เพราะมีทั้งภาพและเสียง ท�ำให้ครูมีเวลาติดตาม
และทดสอบความก้าวหน้าของผู้เรียนแต่ละคนได้มากขึ้น
โดยอาจจัดท�ำแบบทดสอบหรือใบงานเพื่อประเมินความรู้จาก
การใช้ e-book เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง ในส่วนของครู
ที่ไม่ได้เรียนสายวิทยาศาสตร์โดยตรง ก็สามารถศึกษาการเตรียม
กิจกรรมการทดลองได้จากวีดิทัศน์ที่แทรกอยู่ใน e-book ของ
สสวท. นอกจากวิธีการใช้ e-book เป็นสื่อประกอบ
การเรียนการสอนดังวิธีการต่างๆที่ได้กล่าวมาแล้ว ครูยังสามารถ
ดัดแปลงวิธีการใช้ e-book ของ สสวท. ได้ตามความเหมาะสม
ของเนื้อหา กิจกรรมและความพร้อมของเด็กและโรงเรียน
ส�ำหรับผู้ที่สนใจ e-book ของ สสวท. ก็สามารถเข้าไปใช้บริการ
ได้ที่
[www.scimath.org/ebooks] ซึ่งมีเนื้อหาครอบคลุม
ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทั้งนี้เพราะ
ในสังคมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 กิจกรรมการเรียนการสอน
วิชาวิทยาศาสตร์จะไม่ได้อยู่แต่บนกระดาษในหนังสือเรียน
อีกต่อไปแล้ว